ข่าวทั้งหมด ข่าวดาราศาสตร์

กล้องโทรทรรศน์แห่งชาติ ร่วมค้นพบการปะทุของซากดาวฤกษ์ในรูปแบบที่ไม่เคยพ…

Hits:1765

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.) เผยกล้องโทรทรรศน์แห่งชาติ ขนาด 2.4 เมตร ณ ...

อ่านต่อ ...

นักดาราศาสตร์พบการส่ายของเจ็ทรอบหลุมดำ M87 หลักฐานสำคัญบ่งชี้ว่าหลุมดำ…

Hits:2431

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยนักวิจัย สดร. ร่วมค้นพบการส่ายของเจ็ทรอบ...

อ่านต่อ ...

สำเร็จแล้ว ยาน JUICE สามารถกางเสาอากาศได้อย่างสมบูรณ์

Hits:2689

12 พฤษภาคม ค.ศ.2023 องค์การอวกาศยุโรป (ESA)  รายงานว่ายาน JUICE ยานสำรวจดวงจันทร์ของดาวพฤหัสบดี สามารถกางเสาอากาศยาว 16 เมตรได้สำเร็จ ซึ่งเป็นหนึ...

อ่านต่อ ...

ดาวเสาร์กลับมาทวงบัลลังก์ “ราชาแห่งดวงจันทร์บริวาร” จากจำนวนดวงจันทร์ท…

Hits:4425

นักดาราศาสตร์ค้นพบดวงจันทร์เพิ่มอีก 62 ดวงรอบดาวเสาร์ การค้นพบนี้ส่งผลให้จำนวนดวงจันทร์ทั้งหมดของดาวเสาร์มากกว่า 100 ดวง และทำให้ดาวเสาร์กลับมาทวงคืนต...

อ่านต่อ ...

JWST เผยภาพแถบดาวเคราะห์น้อยรอบดาวฤกษ์ Fomalhaut ได้เป็นครั้งแรก

Hits:2109

ดาวสวย ๆ บนท้องฟ้าที่ตาเรามองเห็น อาจมีอะไรซ่อนอยู่มากกว่านั้น ดังเช่นดาวฤกษ์ Fomalhaut แห่งกลุ่มดาวปลาใต้ ที่ล่าสุดกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์เว็บบ์ ได้...

อ่านต่อ ...

น้ำตกบนดวงอาทิตย์

Hits:3821

นักถ่ายภาพดาราศาสตร์พบปรากฏการณ์ประหลาดบนดวงอาทิตย์ ซึ่งมีลักษณะคล้ายกับน้ำตก ที่มีความสูงมากกว่า 100,000 กิโลเมตร

อ่านต่อ ...
อ่านข่าวดาราศาสตร์ทั้งหมด
 
 
  1. บทความดาราศาสตร์
  2. บทความภาพถ่ายดาราศาสตร์
  3. จากดาราศาสตร์สู่การพัฒนาเทคโนโลยี
  4. จากพื้นพิภพสู่ห้วงอวกาศ
  5. Download

การสังเกตจันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) เพื่อกำหนดเดือนชะบาน (Shaban) ฮ.ศ.144…

Hits:2265

เนื่องจากวันอังคารที่ 24 มกราคม พ.ศ.2566 ตรงกับวันที่ 1 เดือนรอญับ (Rajap  เดือนที่ 7 ในปฏิทินอิสลาม) ฮ.ศ.1444 ดังนั้น วันที่ชาวไทยมุสลิมจะต้องออ...

อ่านต่อ ...

โครงการ CPLS : เมื่อภาครัฐร่วมมือกับภาคเอกชนมุ่งสำรวจดวงจันทร์

Hits:1312

องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติสหรัฐฯ (NASA) กำลังดำเนินงานในแผนการพามนุษย์กลับไปสำรวจพื้นผิวดวงจันทร์ในปลายคริสต์ทศวรรษนี้ แต่ก่อนหน้าที่นักบินอว...

อ่านต่อ ...

วัตถุปริศนาเหนือท้องฟ้าเมียนมาคือจรวดขีปนาวุธของอินเดีย

Hits:1528

เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม ค.ศ. 2022 เวลาประมาณ 18:30 น. ตามเวลาประเทศเมียนมา (19:00 ตามเวลาประเทศไทย) มีรายงานผู้คนในประเทศเมียนมาและแถบภาคเหนือของประเทศ...

อ่านต่อ ...

ยาน JUICE ยานสำรวจเหล่าดวงจันทร์บริวารน้ำแข็งของดาวพฤหัสบดีของยุโรป

Hits:6532

[ประเด็นสำคัญโดยสรุป] - องค์การอวกาศยุโรป (ESA) จะส่งยานจูซ (JUICE) เพื่อศึกษาดาวพฤหัสบดีและดวงจันทร์น้ำแข็ง 3 ดวง ได้แก่ ยูโรปา แกนีมีด และคัลลิสโต ...

อ่านต่อ ...
อ่านบทความทั้งหมด

27 เมษา ชวนกันมาถ่ายภาพดวงจันทร์ใหญ่ที่สุดในรอบปี

Hits:17900

ในวันที่ 27 เมษายน 2564 นี้จะเกิดปรากฏการณ์ดวงจันทร์เต็มดวงใกล้โลกมากที่สุดในรอบปี ที่ระยะทาง 357,370 กิโลเมตร (Perigee) ในช่วงเวลา 22.25 น. ตามเวลาปร...

อ่านต่อ ...

ถ่ายภาพฝนดาวตกอย่างไร ให้ได้ศูนย์กลางการกระจายตัวของฝนดาวตก

Hits:12905

ในคอลัมนี้อยากชวนมาถ่ายฝนดาวตกกันในแบบที่นักดาราศาสตร์นิยมถ่ายภาพกัน ซึ่งจะช่วยให้ได้ภาพถ่ายฝนดาวตกที่เห็นการกระจายตัวได้อย่างชัดเจน โดยในคืน 13 ถึงรุ...

อ่านต่อ ...

แจกตารางถ่ายทางช้างเผือกโค้งสุดท้าย เดือนพฤศจิกายน 2563

Hits:14278

ในเดือนพฤศจิกายนนี้ เป็นช่วงสุดท้ายของการออกไปถ่ายทางช้างเผือก เนื่องจากหลังจากนี้ตำแหน่งใจกลางทางช้างเผือก จะมีดวงอาทิตย์เคลื่อนที่เข้ามาอยู่ในตำแหน่...

อ่านต่อ ...

คืน 21 ตุลา ชวนมาถ่ายภาพฝนดาวตกโอไรโอนิดส์

Hits:15058

ในคืนวันที่ 21 ตุลาคมนี้ จะเกิดปรากฏการณ์ฝนดาวตกโอไรโอนิดส์ (Orionid Meteors shower) อัตราการตกสูงสุดเฉลี่ยประมาณ 20 ดวงต่อชั่วโมง สังเกตได้ตั้งแต่เวล...

อ่านต่อ ...
อ่านบทความทั้งหมด

จากดาราศาสตร์สู่การพัฒนาเทคโนโลยี

Hits:4278

00 001

ยืนมองท้องฟ้าไม่เป็นเช่นเคย : The Series

บทความชุด #ยืนมองท้องฟ้าไม่เป็นเช่นเคย บอกเล่าหลากหลายเรื่องราวหลังบ้าน เบื้องหลังการพัฒนาเทคโนโลยีดาราศาสตร์ กว่าจะมาเป็นชิ้นงานเทคโนโลยีสุดล้ำ มีเส้นทางอย่างไร ผลงานวิจัยอาจไม่ใช่เป้าหมายสูงสุด สิ่งสำคัญคือการสร้างเส้นทางที่จะนำไปสู่เป้าหมายนั้น

จากพื้นพิภพสู่ห้วงอวกาศ

Hits:4006

00 001

ประเทศไทยกำลังก้าวสู่การพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศภายใต้ความร่วมมือของหน่วยงานวิทยาศาสตร์ชั้นนำ และสถาบันอุดมศึกษา รวม 12 แห่ง ภายใต้ #ภาคีความร่วมมืออวกาศไทย (Thai Space Consortium: TSC)

NARIT จึงจัดทำชุดความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเทคโนโลยีอวกาศ ชื่อ “จากพื้นพิภพสู่ห้วงอวกาศ: To the Moon and back” ฉบับประชาชนแบบอ่านง่ายๆ มาฝากกัน ไม่จำเป็นต้องมีความรู้พื้นฐานทางฟิสิกส์ก็สามารถอ่านได้ครับ

สำหรับบทความชุดแรกว่าด้วย Basics of Space Flight  มีเนื้อหา  6 ตอน ได้แก่

หนังสือ

Hits:3955

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์กรมหาชน) (สดร.) ก่อตั้งอย่างเป็นทางการตั้งแต่ 1 มกราคม 2552 ตลอดระยะเวลามากกว่า 10 ปี สดร. ได้ดำเนินการตามภารกิจหลัก ทั้งงานวิจัย งานพัฒนาเทคโนโลยี สร้างเครือข่ายความร่วมมือทั้งในประเทศและต่างประเทศ ถ่ายทอดองค์ความรู้ สร้างแรงบันดาลใจใฝ่รู้วิทยาศาสตร์  ทำให้วงการดาราศาสตร์ไทยเจริญรุดหน้า กลายเป็นดาวดวงใหม่เปล่งประกายเจิดจรัสในเวทีดาราศาสตร์โลก

ในโอกาสครบรอบ 10 ปี ของการก่อตั้ง สดร. ในปี 2562 สดร. ได้จัดทำหนังสือรวบรวมเรื่องราวตลอด 1 ทศวรรษที่ผ่านมา ในชื่อ “ยืนมองท้องฟ้า ไม่เป็นเช่นเคย” บอกเล่าการทำงานตั้งแต่เริ่มต้น พันธกิจ ผลงานโดดเด่นทั้งด้านการค้นคว้าวิจัย และการพัฒนาเทคโนโลยี และการสื่อสารดาราศาสตร์สู่สังคมไทย รวมถึงเป้าหมายต่อไปในอนาคต

ในทศวรรษที่ 2 สดร. มุ่งเป้าไปยังการปรับเปลี่ยนมุมมองต่อดาราศาสตร์ สร้างความรู้ความเข้าใจที่ว่า ดาราศาสตร์มิใช่แค่เพียงการดูดาว หากแต่ยังเป็นศาสตร์ที่สามารถก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ดาราศาสตร์เป็นโจทย์สำคัญที่ก่อให้เกิดการผลักดันนวัตกรรมล้ำหน้า ผลักดันเทคโนโลยีที่ซับซ้อนและยากที่สุด นอกจากนี้ดาราศาสตร์ยังเป็นเครื่องมือสร้างจินตนาการ สร้างแรงบันดาลใจใฝ่รู้ในวิทยาศาสตร์ สร้างตัวอย่างอันเป็นที่ประจักษ์ถึงการพัฒนานวัตกรรมด้วยการตอบโจทย์วิจัยดาราศาสตร์ และสามารถถ่ายทอดเทคโนโลยีต่อยอดสู่ภาคอุตสาหกรรม

ในปี 2563  “บริบทใหม่ดาราศาสตร์ไทย” เป็นหนังสืออีกเล่มที่บอกเล่าเรื่องราวก้าวต่อไปของ สดร. ที่เชื่อมโยงไปสู่เทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นเพื่องานวิจัย การเผยแพร่ความรู้ทางดาราศาสตร์และสร้างความตระหนักสู่สังคม และการใช้ดาราศาสตร์เป็นเครื่องมือสร้างความร่วมมือทั้งในประเทศ และต่างประเทศ ในมิติของความโดดเด่นของไทยในระดับภูมิภาค และระดับโลก ศักยภาพและโอกาสในการพัฒนาประเทศในอนาคตภายในระยะเวลา 10 ปี ข้างหน้านี้

ติดตามได้จากหนังสือทั้งสองเล่มนี้

astronomy book 01 01 astronomy book 01 02

next
prev
 
 
  1. ข่าวประชาสัมพันธ์
  2. ข่าวจัดซื้อจัดจ้าง
  3. ข่าวรับสมัครงาน
  4. รับสมัครนักศึกษาช่วยงาน
  5. NARIT INTERNSHIP PROGRAM
  6. รับสมัครนักศึกษาฝึกงาน
  7. ดาวน์โหลดแบบฟอร์ม
  8. ข่าว อว

ชาวกรุงเตรียมไร้เงา 26 เม.ย.นี้ “ดวงอาทิตย์ตั้งฉากกรุงเทพฯ” ครั้งแรกขอ…

Hits:59

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.) เผย วันที่ 26 เมษายน 2567 ดวงอาทิตย์จะโคจร...

อ่านต่อ ...

สดร. เก็บภาพ สุริยุปราคาเต็มดวง 8 เมษายน 2567 มาฝากชาวไทย

Hits:64

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.) เผยภาพ “สุริยุปราคาเต็มดวง” วันที่ 8 เมษาย...

อ่านต่อ ...

ลูกไฟสีเขียวปรากฏเหนือท้องฟ้า คืน 4 มีนาคม 2567 แถบภาคกลาง และภาคตะวัน…

Hits:286

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.) เผย ตามที่มีการแชร์คลิปวิดีโอและภาพถ่ายใน...

อ่านต่อ ...
อ่านข่าวประชาสัมพันธ์ทั้งหมด
next
prev
 
 

หอดูดาวภูมิภาค

nma icon     cco icon     ska icon     

 

pr20190902 1 01

pr20190902 1 02

        ดร. ศรัณย์ โปษยะจินดา ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ กล่าวว่า รู้สึกยินดีเป็นอย่างยิ่ง ที่หอดูดาวภูมิภาคสำหรับประชาชนในกำกับของ สดร. ถึง 2 แห่ง ได้แก่ หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบ พระชนมพรรษา ฉะเชิงเทรา และ หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบ พระชนมพรรษา นครราชสีมา ได้รับรางวัลมิวเซียมไทยแลนด์ อะวอร์ด 2019 สะท้อนให้เห็นผลจากการทำงานร่วมกันอย่างแข็งขันของทีม สดร. ทุกคน ที่ร่วมกันสร้างสรรค์ผลงานการถ่ายทอดองค์ความรู้ดาราศาสตร์ ผ่านการสร้างสรรค์นิทรรศการ และกิจกรรมทางดาราศาสตร์ จนได้รับการยอมรับในระดับชาติ ขอขอบคุณแรงใจ และแรงสนับสนุนจากประชาชนทุกท่านที่เข้ามาเยี่ยมชม และมาใช้บริการที่หอดูดาวภูมิภาค เรายังจะพัฒนาเนื้อหาสาระ เครื่องมืออุปกรณ์ที่ทันสมัย และจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้คนไทยได้เรียนรู้ดาราศาสตร์อย่างทั่วถึงต่อไป

        ในโอกาสนี้ ขอเชิญชวนผู้ที่สนใจมาเยี่ยมชม และเรียนรู้ดาราศาสตร์ที่หอดูดาวภูมิภาคสำหรับประชาชน ปัจจุบันเปิดบริการแล้ว 3 แห่ง ได้แก่ หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบ พระชนมพรรษา นครราชสีมา ฉะเชิงเทรา และสงขลา และอนาคตอันใกล้นี้ จะเปิดให้บริการอีก 1 แห่ง ณ อุทยานดาราศาสตร์สิรินธร อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งจะเป็นศูนย์การเรียนรู้ดาราศาสตร์เต็มรูปแบบ เปิดให้บริการทั้งหอดูดาวที่ให้บริการการสังเกตการณ์วัตถุท้องฟ้า นิทรรศการดาราศาสตร์ และท้องฟ้าจำลองฟูลโดมดิจิทัล ความละเอียด 4K เส้นผ่านศูนย์กลาง 17 เมตร ความจุ 160 ที่นั่ง กำหนดเปิดให้บริการประมาณเดือนกุมภาพันธ์ 2563 ดร. ศรัณย์กล่าวปิดท้าย

 

pr20190902 1 03  pr20190902 1 04 

 

    รางวัลมิวเซียมไทยแลนด์ อะวอร์ด เป็นรางวัลที่สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ (มิวเซียมสยาม) มอบให้แก่พิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้ดีเด่น ปีนี้มอบต่อเนื่องเป็นปีที่ 3 ภายใต้แนวคิด “Perspective” สื่อสารการมองภาพผ่านมุมมองจากจุดเล็กๆ ขยายไปสู่มุมมองที่กว้างขึ้น สื่อถึงภารกิจหลักของพิพิธภัณฑ์ที่เป็นจุดเริ่มต้นในการเชื่อมโยงสังคมแต่ละท้องถิ่นเข้าหากัน ด้วยการบูรณาการทำงานร่วมกันอย่างยั่งยืน แบ่งหมวดหมู่การประกวดพิพิธภัณฑ์ดีเด่น 4 ประเภท ประกอบด้วย พิพิธภัณฑ์ด้านสังคม ศิลปะ และวัฒนธรรม พิพิธภัณฑ์ด้านเศรษฐกิจสร้างสรรค์ พิพิธภัณฑ์ด้านวิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม พิพิธภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่น โดยแบ่งประเภทตาม "อัตลักษณ์" ที่แตกต่างกันของแต่ละพิพิธภัณฑ์ เพื่อให้ครอบคลุมมิติที่หลากหลายของพิพิธภัณฑ์ไทยในปัจจุบัน นอกจากนี้ ยังมีรางวัล “พิพิธภัณฑ์ขวัญใจมหาชน” หรือ “Museum Thailand Popular Vote 2019” ซึ่งเปิดโอกาสให้ประชาชนร่วมโหวตพิพิธภัณฑ์ที่ชื่นชอบ ผ่านทางเว็บไซต์ www.museumthailand.com เพื่อร่วมส่งกำลังใจและสร้างพลังขับเคลื่อนของคนทำงานในวงการได้เดินหน้าพัฒนางานด้านพิพิธภัณฑ์ต่อไป 

 

งานประชาสัมพันธ์ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)
โทร. 053-121268-9 ต่อ 210-211 , 081-8854353 โทรสาร 053-121250
 E-mail: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.     Website : www.narit.or.th
Facebook : www.facebook.com/NARITpage
Twitter : twitter.com/@N_Earth  Instagram : @NongEarthNARIT
Call Center กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม โทร. 1313

กิจกรรมดาราศาสตร์


outreach student          outreach teacher          outreach public                    

 

 
กิจกรรมที่ผ่านมา งานอบรม/สัมมนา
NARIT Social Media
     

 

       

 

 banner download     banner service download 03    banner media download 02
 

EIT ITA 2024 

Citizen Portal 3 years plan 1200 x 800   E SDG logo

pdpa link
 

ITA 2567 banner 

                  qr code traffy fondue        feedback banner
               Traffy Fondue

E Learning Oic jahh banner
duga banner

researchexpo2023