NARIT
  • อุทยานดาราศาสตร์สิรินธร
    • เกี่ยวกับ สดร.
    • ท้องฟ้าจำลอง
  • หอดูดาว
    • หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบพระชนมพรรษา
    • หอดูดาวภูมิภาค
    • หอสังเกตการณ์ดาราศาสตร์วิทยุแห่งชาติ
    • หอดูดาวควบคุมระยะไกล
  • บริการทางดาราศาสตร์
    • สื่อดาราศาสตร์
  • งานวิจัย
  • การพัฒนาเทคโนโลยี
    • ห้องปฏิบัติการทัศนศาสตร์
    • ศูนย์ปฏิบัติการดาราศาสตร์วิทยุ
    • ห้องปฏิบัติการแมคคาทรอนิกส์
    • ห้องปฏิบัติการขึ้นรูปชิ้นงานความละเอียดสูง
    • เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สมรรถนะสูง
  • ความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอก

TH | EN
  • Backgound_Slide
  • Backgound_Slide
การให้บริการทางดาราศาสตร์
บริการทางดาราศาสตร์
หอดูดาว
หอดูดาว
ปฏิทินดาราศาสตร์
ปฏิทินดาราศาสตร์
สภาพท้องฟ้าและอากาศ
สภาพท้องฟ้าและอากาศ
NARIT STORE
NARIT STORE
ข่าวทั้งหมด ข่าวดาราศาสตร์

NASA ค้นพบดาวเคราะห์คล้ายโลกเขตที่เอื้อต่อการอยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิต ใ…

Hits:362

เมื่อวันที่ 11 มกราคม 2566 นักดาราศาสตร์ NASA ได้ค้นพบดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะดวงใหม่ ชื่อ TOI-700 e มีขนาดใกล้เคียงกับโลก โคจรในเขตที่เอื้อต่อการอยู่อ...

อ่านต่อ ...

ภาพถ่ายดวงจันทร์ยูโรปาที่คมชัดที่สุดจากยานจูโน

Hits:135

ในช่วงปลายเดือนกันยายน 2022 ที่ผ่านมา ยานจูโนซึ่งกำลังโคจรรอบดาวพฤหัสบดี ได้ตัดสินใจกลับไปเยือนดวงจันทร์ยูโรปาอีกครั้งในรอบ 2 ทศวรรษ และเก็บรวบรวมข้อม...

อ่านต่อ ...

เก็บตกวันปีใหม่ รู้หรือไม่ ดาวอันคารก็มีวันปีใหม่ !

Hits:85

[ปีตามปฏิทินของดาวอังคาร] แม้ว่าโลกกับดาวอังคารจะถือกำเนิดขึ้นพร้อมกันภายในระบบสุริยะแห่งนี้ ทำให้มีอายุเท่ากันที่ราว 4,500 ล้านปี โดยการนับวันและเวล...

อ่านต่อ ...

นักดาราศาสตร์พบเมฆลึกลับในอวกาศเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูง

Hits:201

งานวิจัยล่าสุดพบเมฆลึกลับในอวกาศเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูง มีความเป็นไปได้ว่าอาจเกิดจากดาวฤกษ์ที่อยู่ห่างจากโลกออกไป 532 ปีแสง จบชีวิตลงด้วยการระเบิดอย...

อ่านต่อ ...

JWST สังเกตการณ์ระลอกคลื่นในอวกาศ จนพบว่าเป็นกลุ่มฝุ่นสารอินทรีย์ที่ถู…

Hits:107

ภาพอันน่าตื่นตาตื่นใจภาพนี้ ถ่ายจากกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์ (JWST) เมื่อเดือนกันยายนที่ผ่านมา แสดงให้เห็นส่วนโค้งหลายชั้นที่อยู่โดยรอบระบบดาวยั...

อ่านต่อ ...

นักวิจัยพบว่าน้ำบนดาวอังคารอาจระเหยช้ากว่าที่คาดการณ์ไว้

Hits:3206

ภาพบริเวณพื้นที่ราบ Bosporos Planum บนดาวอังคาร ที่ถ่ายโดยกล้อง Context Camera ของยาน Mars Reconnaissance Orbiter (MRO) ซึ่งพื้นที่สีขาว คือ เกลือที่ท...

อ่านต่อ ...
อ่านข่าวดาราศาสตร์ทั้งหมด
 
 
  1. บทความดาราศาสตร์
  2. บทความภาพถ่ายดาราศาสตร์
  3. จากดาราศาสตร์สู่การพัฒนาเทคโนโลยี
  4. จากพื้นพิภพสู่ห้วงอวกาศ
  5. Download

วัตถุปริศนาเหนือท้องฟ้าเมียนมาคือจรวดขีปนาวุธของอินเดีย

Hits:158

เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม ค.ศ. 2022 เวลาประมาณ 18:30 น. ตามเวลาประเทศเมียนมา (19:00 ตามเวลาประเทศไทย) มีรายงานผู้คนในประเทศเมียนมาและแถบภาคเหนือของประเทศ...

อ่านต่อ ...

ยาน JUICE ยานสำรวจเหล่าดวงจันทร์บริวารน้ำแข็งของดาวพฤหัสบดีของยุโรป

Hits:1828

[ประเด็นสำคัญโดยสรุป] - องค์การอวกาศยุโรป (ESA) จะส่งยานจูซ (JUICE) เพื่อศึกษาดาวพฤหัสบดีและดวงจันทร์น้ำแข็ง 3 ดวง ได้แก่ ยูโรปา แกนีมีด และคัลลิสโต ...

อ่านต่อ ...

นักดาราศาสตร์ไทยหนึ่งเดียวในภารกิจ JWST

Hits:1393

แนะนำตัวเอง ผมชื่อ “แก้ว” สมาพร ติญญนนท์ ปัจจุบันเป็นนักดาราศาสตร์หลังจบปริญญาเอก (postdoctoral researcher) ที่ University of California Santa Cruz ...

อ่านต่อ ...

การสังเกตจันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) เพื่อกำหนดเดือนรอญับ (Rajab) ฮ.ศ.1443

Hits:1286

เนื่องจากวันอังคารที่ 4 มกราคม พ.ศ.2565 ตรงกับวันที่ 1 เดือนญามาดิล อาเคร (Jamadil Akhir - เดือนที่ 6 ในปฏิทินอิสลาม) ฮ.ศ.1443 ดังนั้น วันที่ชาวไทยมุส...

อ่านต่อ ...
อ่านบทความทั้งหมด

27 เมษา ชวนกันมาถ่ายภาพดวงจันทร์ใหญ่ที่สุดในรอบปี

Hits:14178

ในวันที่ 27 เมษายน 2564 นี้จะเกิดปรากฏการณ์ดวงจันทร์เต็มดวงใกล้โลกมากที่สุดในรอบปี ที่ระยะทาง 357,370 กิโลเมตร (Perigee) ในช่วงเวลา 22.25 น. ตามเวลาปร...

อ่านต่อ ...

ถ่ายภาพฝนดาวตกอย่างไร ให้ได้ศูนย์กลางการกระจายตัวของฝนดาวตก

Hits:7314

ในคอลัมนี้อยากชวนมาถ่ายฝนดาวตกกันในแบบที่นักดาราศาสตร์นิยมถ่ายภาพกัน ซึ่งจะช่วยให้ได้ภาพถ่ายฝนดาวตกที่เห็นการกระจายตัวได้อย่างชัดเจน โดยในคืน 13 ถึงรุ...

อ่านต่อ ...

แจกตารางถ่ายทางช้างเผือกโค้งสุดท้าย เดือนพฤศจิกายน 2563

Hits:12366

ในเดือนพฤศจิกายนนี้ เป็นช่วงสุดท้ายของการออกไปถ่ายทางช้างเผือก เนื่องจากหลังจากนี้ตำแหน่งใจกลางทางช้างเผือก จะมีดวงอาทิตย์เคลื่อนที่เข้ามาอยู่ในตำแหน่...

อ่านต่อ ...

คืน 21 ตุลา ชวนมาถ่ายภาพฝนดาวตกโอไรโอนิดส์

Hits:8794

ในคืนวันที่ 21 ตุลาคมนี้ จะเกิดปรากฏการณ์ฝนดาวตกโอไรโอนิดส์ (Orionid Meteors shower) อัตราการตกสูงสุดเฉลี่ยประมาณ 20 ดวงต่อชั่วโมง สังเกตได้ตั้งแต่เวล...

อ่านต่อ ...
อ่านบทความทั้งหมด

จากดาราศาสตร์สู่การพัฒนาเทคโนโลยี

Hits:3242

00 001

ยืนมองท้องฟ้าไม่เป็นเช่นเคย : The Series

บทความชุด #ยืนมองท้องฟ้าไม่เป็นเช่นเคย บอกเล่าหลากหลายเรื่องราวหลังบ้าน เบื้องหลังการพัฒนาเทคโนโลยีดาราศาสตร์ กว่าจะมาเป็นชิ้นงานเทคโนโลยีสุดล้ำ มีเส้นทางอย่างไร ผลงานวิจัยอาจไม่ใช่เป้าหมายสูงสุด สิ่งสำคัญคือการสร้างเส้นทางที่จะนำไปสู่เป้าหมายนั้น

EP.7 อุปกรณ์รับสัญญาณความถี่วิทยุย่านเคยู

Hits:386

EP.6 ซอฟต์แวร์ท้องฟ้าจำลองฝีมือคนไทย

Hits:468

EP.5 เครื่องวัดสภาพท้องฟ้าอัตโนมัติ

Hits:430

EP.4 ระบบควบคุมกล้องโทรทรรศน์อัตโนมัติ

Hits:400

EP.3 ระบบติดตามวัตถุอวกาศ

Hits:423

EP.2 แขนเทียมกล

Hits:449

EP.1 เครื่องช่วยหายใจต้นแบบ

Hits:404

Ep 35. ยกระดับกายอุปกรณ์เพื่อผู้พิการ : นวัตกรรมขาเทียมเหนือเข่าอัจฉริยะ

Hits:2277

จากพื้นพิภพสู่ห้วงอวกาศ

Hits:2707

00 001

ประเทศไทยกำลังก้าวสู่การพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศภายใต้ความร่วมมือของหน่วยงานวิทยาศาสตร์ชั้นนำ และสถาบันอุดมศึกษา รวม 12 แห่ง ภายใต้ #ภาคีความร่วมมืออวกาศไทย (Thai Space Consortium: TSC)

NARIT จึงจัดทำชุดความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเทคโนโลยีอวกาศ ชื่อ “จากพื้นพิภพสู่ห้วงอวกาศ: To the Moon and back” ฉบับประชาชนแบบอ่านง่ายๆ มาฝากกัน ไม่จำเป็นต้องมีความรู้พื้นฐานทางฟิสิกส์ก็สามารถอ่านได้ครับ

สำหรับบทความชุดแรกว่าด้วย Basics of Space Flight  มีเนื้อหา  6 ตอน ได้แก่

Ep 1. เราเดินทางในอวกาศได้อย่างไร

Hits:3765

Ep 2. จะส่งจรวดออกไปนอกโลก ต้องใช้อะไรบ้าง?

Hits:3176

Ep 3. ปราการด่านแรกของการไปอวกาศ: การออกจากชั้นบรรยากาศโลก

Hits:3780

Ep 4. วงโคจรคืออะไร

Hits:6273

Ep 5. การเปลี่ยนวงโคจรแบบโฮมันน์: วิธีไปให้ถึงดวงจันทร์

Hits:3521

Ep 6. Ion engine : เครื่องยนต์จิ๋วทรงประสิทธิภาพ

Hits:3392

หนังสือ

Hits:3025

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์กรมหาชน) (สดร.) ก่อตั้งอย่างเป็นทางการตั้งแต่ 1 มกราคม 2552 ตลอดระยะเวลามากกว่า 10 ปี สดร. ได้ดำเนินการตามภารกิจหลัก ทั้งงานวิจัย งานพัฒนาเทคโนโลยี สร้างเครือข่ายความร่วมมือทั้งในประเทศและต่างประเทศ ถ่ายทอดองค์ความรู้ สร้างแรงบันดาลใจใฝ่รู้วิทยาศาสตร์  ทำให้วงการดาราศาสตร์ไทยเจริญรุดหน้า กลายเป็นดาวดวงใหม่เปล่งประกายเจิดจรัสในเวทีดาราศาสตร์โลก

ในโอกาสครบรอบ 10 ปี ของการก่อตั้ง สดร. ในปี 2562 สดร. ได้จัดทำหนังสือรวบรวมเรื่องราวตลอด 1 ทศวรรษที่ผ่านมา ในชื่อ “ยืนมองท้องฟ้า ไม่เป็นเช่นเคย” บอกเล่าการทำงานตั้งแต่เริ่มต้น พันธกิจ ผลงานโดดเด่นทั้งด้านการค้นคว้าวิจัย และการพัฒนาเทคโนโลยี และการสื่อสารดาราศาสตร์สู่สังคมไทย รวมถึงเป้าหมายต่อไปในอนาคต

ในทศวรรษที่ 2 สดร. มุ่งเป้าไปยังการปรับเปลี่ยนมุมมองต่อดาราศาสตร์ สร้างความรู้ความเข้าใจที่ว่า ดาราศาสตร์มิใช่แค่เพียงการดูดาว หากแต่ยังเป็นศาสตร์ที่สามารถก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ดาราศาสตร์เป็นโจทย์สำคัญที่ก่อให้เกิดการผลักดันนวัตกรรมล้ำหน้า ผลักดันเทคโนโลยีที่ซับซ้อนและยากที่สุด นอกจากนี้ดาราศาสตร์ยังเป็นเครื่องมือสร้างจินตนาการ สร้างแรงบันดาลใจใฝ่รู้ในวิทยาศาสตร์ สร้างตัวอย่างอันเป็นที่ประจักษ์ถึงการพัฒนานวัตกรรมด้วยการตอบโจทย์วิจัยดาราศาสตร์ และสามารถถ่ายทอดเทคโนโลยีต่อยอดสู่ภาคอุตสาหกรรม

ในปี 2563  “บริบทใหม่ดาราศาสตร์ไทย” เป็นหนังสืออีกเล่มที่บอกเล่าเรื่องราวก้าวต่อไปของ สดร. ที่เชื่อมโยงไปสู่เทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นเพื่องานวิจัย การเผยแพร่ความรู้ทางดาราศาสตร์และสร้างความตระหนักสู่สังคม และการใช้ดาราศาสตร์เป็นเครื่องมือสร้างความร่วมมือทั้งในประเทศ และต่างประเทศ ในมิติของความโดดเด่นของไทยในระดับภูมิภาค และระดับโลก ศักยภาพและโอกาสในการพัฒนาประเทศในอนาคตภายในระยะเวลา 10 ปี ข้างหน้านี้

ติดตามได้จากหนังสือทั้งสองเล่มนี้

astronomy book 01 01 astronomy book 01 02

next
prev
 
 
  1. ข่าวประชาสัมพันธ์
  2. ข่าวจัดซื้อจัดจ้าง
  3. ข่าวรับสมัครงาน
  4. NARIT INTERNSHIP PROGRAM
  5. รับสมัครนักศึกษาฝึกงาน
  6. ดาวน์โหลดแบบฟอร์ม
  7. ข่าว อว

รายชื่อตัวแทนประเทศไทยเข้าร่วมโครงการนักศึกษาภาคฤดูร้อนของหอสังเกตการณ…

Hits:228

รายชื่อตัวแทนประเทศไทยเข้าร่วมโครงการนักศึกษาภาคฤดูร้อนของหอสังเกตการณ์นิวตริโนไอซ์คิวบ์ตามพระราชดำริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุ...

อ่านต่อ ...

ดาวพฤหัสบดีใกล้โลกที่สุดในรอบ 59 ปี อวดโฉมเหนือฟ้าเมืองเชียงใหม่

Hits:359

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยภาพ “ดาวพฤหัสบดีใกล้โลกที่สุดในรอบ 59 ปี...

อ่านต่อ ...

27 ก.ย. นี้ ดาวพฤหัสบดีใกล้โลกสุดในรอบ 59 ปี

Hits:446

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผย 27 กันยายนนี้ ดาวพฤหัสบดีใกล้โลกที่สุดใ...

อ่านต่อ ...

ชวนเสนอชื่อไทยให้ดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ ประจำปี 2565

Hits:1843

ชวนเสนอชื่อไทยให้ดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ ประจำปี 2565

อ่านต่อ ...
อ่านข่าวประชาสัมพันธ์ทั้งหมด

ประกาศ เรื่อง ประกาศผู้ชนะการเสนอราคา จ้างตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำทิ้ง โดยวิธีเฉพาะเจาะจง

Hits:11

...

อ่านต่อ ...

ประกาศ เรื่อง ประกาศผู้ชนะการเสนอราคา ซื้อวัสดุโมดูลวัดแรงดันอากาศในระบบสุญญากาศ จำนวน 10 ชิ้น โดยวิธีเฉพาะเจาะจง

Hits:15

...

อ่านต่อ ...

ประกาศ เรื่อง ประกาศผู้ชนะการเสนอราคา ประกวดราคาจ้างเหมาปรับปรุงลานเอนกประสงค์ ณ หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบ พระชนมพรรษา ฉะเชิงเทรา ด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e-bidding)

Hits:10

...

อ่านต่อ ...

ประกาศ เรื่อง ประกวดราคาซื้อครุภัณฑ์วิทยาศาสตร์ จำนวน 15 รายการ ด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e-bidding)

Hits:50

...

อ่านต่อ ...
อ่านข่าวจัดซื้อจัดจ้างทั้งหมด

ประกาศ เรื่อง การเลื่อนวันประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการคัดเลือก ลูกจ้างโครงการของสถาบัน

Hits:48

...

อ่านต่อ ...

ประกาศรายชื่อผู้ผ่านการคัดเลือก ตำแหน่ง วิศวกร (TSC) 2 ตำแหน่ง 2 อัตรา

Hits:341

...

อ่านต่อ ...

ประกาศรายชื่อผู้ผ่านการคัดเลือก ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่บริหารงานบุคคล จำนวน 1 อัตรา

Hits:249

...

อ่านต่อ ...

ประกาศรับสมัครลูกจ้างโครงการศูนย์ปฏิบัติการหอดูดาวและวิศวกรรม 4 ตำแหน่ง 5 อัตรา

Hits:2521

...

อ่านต่อ ...
อ่านข่าวรับสมัครงานทั้งหมด

NARIT INTERNSHIP PROGRAM

Hits:1649

...

อ่านต่อ ...

NARIT INTERNSHIP PROGRAM

Hits:4890

...

อ่านต่อ ...
อ่านข่าว INTERNSHIP ทั้งหมด

การรับสมัครนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

Hits:13396

...

อ่านต่อ ...

การส่งใบสมัครและเอกสารประกอบการสมัคร

Hits:2270

...

อ่านต่อ ...
อ่านข่าวรับสมัครนักศึกษาฝึกงานทั้งหมด

ดาวน์โหลดใบสมัคร

Hits:9517

...

อ่านต่อ ...
ดาวน์โหลดแบบฟอร์มทั้งหมด

ข่าวประชาสัมพันธ์ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

Hits:3211

ข่าวประชาสัมพันธ์ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

Hits:3248

ข่าวประชาสัมพันธ์ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

Hits:3286

ข่าวประชาสัมพันธ์ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

Hits:3001

next
prev
 
 

หอดูดาวภูมิภาค

nma icon     cco icon     ska icon     

 

กิจกรรมดาราศาสตร์


outreach student          outreach teacher          outreach public          outreach amateur astronomers          

 

  • ค่ายเยาวชนคนดูดาว
  • โครงการ (NAS)
  • โครงการอบรมครู
  • กิจกรรมดาราศาสตร์สำหรับโรงเรียน
  • กิจกรรมเปิดฟ้าตามหาดาว
  • Open House
Previous Next
  • โครงการกระจายโอกาสการ
  • Thai Space Consortium
  • Dark Sky
Previous Next
  • หน่วยบริการข้อมูลข่าวสารของราชการ
  • สื่อดาราศาสตร์
  • ห้องภาพดาราศาสตร์
  • ห้องสมุดดาราศาสตร์
  • หอจดหมายเหตุดาราศาสตร์
  • wiki-thai
  • wiki-eng
Previous Next
 
กิจกรรมที่ผ่านมา งานอบรม/สัมมนา
  • 2.TACs2020
  • ODSS
  • 3.EAVW 2021
  • 4.VLBI 2021
  • 1.CAAS2020
Previous Next
NARIT Social Media
     

 

        Tweets by NARIT_Thailand

 

 banner download
 

ITA 2023 01 ITA 2023 02 

Citizen Portal 3 years plan 1200 x 800   E SDG logo

pdpa link
 

ITA banner 04 

qr code traffy fondue

  Traffy Fondue

E Learning Oic jahh banner
duga banner

Follow Us

facebook     twitter     instagram     youtube     line     email

StatCounter - Free Web Tracker and Counterstat counter

SITE MAP

  • อุทยานดาราศาสตร์สิรินธร
  • เกี่ยวกับ สดร.
  • จัดซื้อจัดจ้าง
  • รับสมัครงาน
  • หน่วยบริการข้อมูลข่าวสารราชการ
  • ข้อกำหนดและนโยบายการให้บริการ
  • นโยบายการรักษาความมั่นคงปลอดภัย Website
  • ติดต่อเรา
  • ดาวน์โหลด
  • หอดูดาว
  • ข่าวดาราศาสตร์
  • บทความดาราศาสตร์
  •      บทความภาพถ่ายดาราศาสตร์
  • ข่าวประชาสัมพันธ์
  • กระดานถาม-ตอบ
  • บริการทางดาราศาสตร์
  •      สำหรับครู
  •      สำหรับนักเรียน
  •      สำหรับประชาชนทั่วไป
  • งานวิจัย
  • การพัฒนาเทคโนโลยี
  • ความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอก
Copyright © National Astronomical Research Institute of Thailand (Public Organization). 2019
Phone  : (+66) 053-121268-9
Fax      : (+66) 053-121250
สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ(องค์การมหาชน)
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
260 หมู่ 4 ตำบลดอนแก้ว อำเภอแม่ริม
จังหวัดเชียงใหม่ 50180

National Astronomical Research Institute of Thailand (Public Organization)
260  Moo 4, T. Donkaew,  A. Maerim, Chiangmai, 50180 Thailand