mhesi logo narit logo ipst mini

กำหนดการจัดกิจกรรมอบรม

โครงการอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านดาราศาสตร์ขั้นต้น ประจำปี 2564

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม

ร่วมกับ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ


วันที่หนึ่ง  
08.00 - 09.00 ลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรมอบรม
09.00 - 09.30 ทดสอบก่อนฝึกอบรม (Pre-Test)
09.30 - 10.30 พิธีเปิดกิจกรรมอบรม/แนะนำสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ ( องค์การมหาชน )
โดย วิทยากรจากสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (สดร.)
10:30 – 11:00 พักรับประทานอาหารว่าง
11:00 – 12:00  บรรยายเรื่อง “การดูดาวเบื้องต้นและการเตรียมตัวสำหรับดูดาว” 
โดย วิทยากรจากสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (สดร.)
12:00 – 13:00 รับประทานอาหารกลางวัน
13:00 – 15:00 บรรยายและกิจกรรม เรื่อง “รู้จัก ลม ฟ้า อากาศและก้อนเมฆ” โดย ดร.บัญชา ธนบุญสมบัติผู้อำนวยการฝ่ายเผยแพร่เทคโนโลยี MTEC สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ( สวทช. )
15:00 – 15:30 พักรับประทานอาหารว่าง
15:30 – 17:30 บรรยายเรื่อง “ทรงกลมท้องฟ้าและระบบพิกัดท้องฟ้า” 
โดย วิทยากรจากสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (สดร.)
17:30 – 18:00 พักผ่อนตามอัธยาศัย
18:00 – 19:00

รับประทานอาหารเย็น 

เตรียมตัว/เดินทางไปยังสถานที่จัดกิจกรรมภาคสังเกตการณ์

19:00 – 20:30                                   

กิจกรรมภาคสังเกตการณ์ “การสังเกตการณ์ท้องฟ้าจริงเบื้องต้น”

- การสังเกตการณ์ท้องฟ้าด้วยตาเปล่ากล้องสองตา และกล้องโทรทรรศน์ 
โดย ทีมวิทยากร จากสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ ( สดร. )


วันที่สอง
 

08:30 – 09:00

จัดกลุ่มกิจกรรม/ชี้แจงการเข้าร่วมกิจกรรมฐานการเรียนรู้

09:00 – 10:20

กิจกรรมฐานการเรียนรู้เรื่อง “กิจกรรมและสื่อการสอนดาราศาสตร์”
        กิจกรรมที่ 1 : เฟสของดวงจันทร์                                     
        กิจกรรมที่ 2 : การเคลื่อนที่ของวัตถุท้องฟ้า
        กิจกรรมที่ 3 : การสร้างดาวหาง                                     
        กิจกรรมที่ 4 : แบบจำลองระบบสุริยะ                                     
        โดย ทีมวิทยากร จากสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ ( สดร. )

10:20 – 10:40

พักรับประทานอาหารว่าง

10:40 – 12:00

กิจกรรมฐานการเรียนรู้เรื่อง “กิจกรรมและสื่อการสอนดาราศาสตร์” ( ต่อ )
        กิจกรรมที่ 1 : เฟสของดวงจันทร์                                     
        กิจกรรมที่ 2 : การเคลื่อนที่ของวัตถุท้องฟ้า
        กิจกรรมที่ 3 : การสร้างดาวหาง                                     
        กิจกรรมที่ 4 : แบบจำลองระบบสุริยะ                                     
        โดย ทีมวิทยากร จากสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ ( สดร. )
12:00 – 13:00 รับประทานอาหารกลางวัน
13:00 – 14:30

การบรรยายและกิจกรรมการเรียนรู้เรื่อง “การสร้างกล้องโทรทรรศน์อย่างง่าย"
โดย วิทยากรจากสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (สดร.)

14:30 – 15:00 พักรับประทานอาหารว่าง

15:00 – 17:30

กิจกรรมดาราศาสตร์ภาคปฏิบัติ
        กิจกรรมที่ 1 : การใช้งานแผนที่ดาว                                     
        กิจกรรมที่ 2 : การใช้งานกล้องสองตา
        กิจกรรมที่ 3 : การติดตั้งและใช้งานกล้องโทรทรรศน์
        กิจกรรมที่ 4 : การสังเกตการณ์ดวงอาทิตย์
        โดย ทีมวิทยากร จากสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ ( สดร. )
17:30 – 18:00 พักผ่อนตามอัธยาศัย
18:00 – 19:00

รับประทานอาหารเย็น 

เตรียมตัว/เดินทางไปยังสถานที่จัดกิจกรรมภาคสังเกตการณ์

19:00 – 20:30 กิจกรรมภาคสังเกตการณ์“ฝึกปฏิบัติการสังเกตการณ์ท้องฟ้าจริง”
- การฝึกปฏิบัติและทดสอบการสังเกตการณ์ด้วยกล้องโทรทรรศน์
โดย ทีมวิทยากร จากสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ ( สดร. )

วันที่สาม
08:30 – 09:00 ติดตั้งซอฟต์แวร์ทางดาราศาสตร์"
09:00 – 10:00 บรรยายและกิจกรรมเรื่อง “ซอฟต์แวร์ทางดาราศาสตร์" 
โดย วิทยากรจากสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (สดร.)
10:00 – 10:20 พักรับประทานอาหารว่าง
10:20 – 12:00 บรรยายและกิจกรรมเรื่อง “ซอฟต์แวร์ทางดาราศาสตร์" ( ต่อ )
โดย วิทยากรจากสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (สดร.)
12:00 – 13:00 รับประทานอาหารกลางวัน
13:00 – 13:30 ทดสอบหลังฝึกอบรม (Post-Test)
13:30 – 15:30 สรุปการจัดกิจกรรม/มอบประกาศนียบัตร/พิธีปิดการฝึกอบรม

หมายเหตุ

*      กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม
**     ครู หรือโรงเรียนที่มีกล้องโทรทรรศน์ กล้องสองตา หรืออุปกรณ์สังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์
       สามารถนำอุปกรณ์มาเข้าร่วมกิจกรรมภาคปฏิบัติ และกิจกรรมสังเกตการณ์ในภาคกลางคืนได้
***    กรุณานำคอมพิวเตอร์แบบพกพา(Notebook Computer) และอุปกรณ์เก็บข้อมูลผ่าน USB
       สำหรับกิจกรรมการบรรยายเรื่อง “ซอฟต์แวร์ทางดาราศาสตร์”
****   ผู้เข้าร่วมอบรมจะต้องเข้าร่วมกิจกรรมภาคสังเกตการณ์ตามข้อกำหนดการเข้าร่วมอบรม