สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) - สดร.
เราทำเพราะเชื่อมั่น ว่าสิ่งที่ทำสามารถเปลี่ยนแปลงประเทศได้
เชื่อมั่น
มุ่งมั่น
ต่อยอด
เชื่อมต่อ
สร้างคน
OUR MISSION
วิจัย
OUR SERVICES
ประชาชนทั่วไป
โรงเรียน
นักวิจัย
ภาคอุตสาหกรรม
OUR OBSERVATORIES & TELESCOPES
หอดูดาวแห่งชาติ
Thai National Observatory
หอสังเกตการณ์ดาราศาสตร์วิทยุแห่งชาติ
Thai National Radio Astronomy Observatory
อุทยานดาราศาสตร์สิรินธร
Princess Sirindhorn AstroPark
หอดูดาวภูมิภาคสำหรับประชาชน
Regional Observatory for the Public
กล้องโทรทรรศน์อัตโนมัติในต่างประเทศ
Thai Robotic Telescope Network
Upcoming Events
โครงการอบรมโบราณดาราศาสตร์ เรื่อง ปริศนาการวางทิศศาสนสถานอาณาจักรหริภุญไชย
เปิดรับสมัคร ครู และนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เข้าร่วมโครงการอบรมโบราณดาราศาสตร์ เรื่อง ปริศนาการวางทิศศาสนสถานอาณาจักรหริภุญไชย หมดเขตรับสมัคร 20 เมษายน 2568
พ.ค.
24
VISIT US
ท้องฟ้าจำลอง และนิทรรศการ
Social Media
ข่าวดาราศาสตร์
21 พฤษภาคม 2568
ถอนหมั้น(ชั่วคราว)ในรอบ 15 ปี
ปกติแล้วเราจะคุ้นชินกับการเห็นวงแหวนของดาวเสาร์ที่มีความสวยงาม แล้วถ้าวันหนึ่งวงแหวนมันหายไปล่ะเราจะคุ้นชินกับมันหรือไม่ ? ในปี ค.ศ. 1610 กาลิเลโอใช้กล้องโทรทรรศน์ที่ประดิษฐ์ขึ้นเองส่องไปที่ดาวเสาร์ครั้งแรก และเห็นสิ่งที่ดูคล้าย "หู" ยื่นออกมาจากด้านข้างของดาว แต่เขาไม่รู้ว่าคืออะไร ต่อมาในปี ค.ศ. 1612 “หู” ที่ว่านั้นก็หายไปอย่างลึกลับ กลายเป็นปริศนาใหญ่ในยุคนั้น
20 พฤษภาคม 2568
“แสงออโรรา” บนดาวพฤหัสบดีจากกล้อง JWST
นักดาราศาสตร์ตรวจพบ “แสงออโรรา (Aurora)” บนดาวพฤหัสบดีมีความแปรปรวนและเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว รวมถึงมีความส่องสว่างกว่าแสงออโรราที่เกิดขึ้นบนโลกหลายร้อยเท่า การศึกษาครั้งนี้นำทีมโดย Jonathan Nichols จากมหาวิทยาลัย Leicester และถูกตีพิมพ์ลงในวารสาร The Journal Nature Communications
15 พฤษภาคม 2568
ภาพถ่ายดาวอังคารในช่วงคลื่นอินฟราเรดจากยาน Europa Clipper
แม้ “ยานยูโรปาคลิปเปอร์” จะมีจุดหมายคือดวงจันทร์ยูโรปาของดาวพฤหัสบดี แต่ล่าสุดนี้ ยานถ่ายภาพดาวอังคารมาให้เราชมกัน เป็นส่วนหนึ่งของการทดสอบ “E-THEMIS” เครื่องมือถ่ายภาพความร้อนในช่วงคลื่นอินฟราเรด โดยถ่ายภาพขณะบินโฉบผ่านดาวอังคาร รวมถึงได้ทดสอบเครื่องมือต่าง ๆ ของยาน สำหรับเตรียมความพร้อมก่อนมุ่งหน้าสู่ดาวพฤหัสบดี เพื่อศึกษามหาสมุทรและสภาพแวดล้อมของดวงจันทร์ยูโรปา
13 พฤษภาคม 2568
ยานคอสมอส 482 ของโซเวียตได้ตกลงมาบนโลกแล้ว หลังจากเป็นขยะอวกาศในวงโคจรรอบโลกนาน 53 ปี
การเดินทางของยานโซเวียตที่ประสบความล้มเหลวในการเดินทางไปดาวศุกร์ จนกลายเป็นขยะอวกาศในวงโคจรรอบโลกนานถึง 53 ปี ในที่สุดได้กลับมายังโลกโดยตกลงที่บริเวณมหาสมุทรอินเดียเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคมที่ผ่านมา