สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) - สดร.
เราทำเพราะเชื่อมั่น ว่าสิ่งที่ทำสามารถเปลี่ยนแปลงประเทศได้
เชื่อมั่น
มุ่งมั่น
ต่อยอด
เชื่อมต่อ
สร้างคน
OUR MISSION
วิจัย
OUR SERVICES
ประชาชนทั่วไป
โรงเรียน
นักวิจัย
ภาคอุตสาหกรรม
OUR OBSERVATORIES & TELESCOPES
หอดูดาวแห่งชาติ
Thai National Observatory
หอสังเกตการณ์ดาราศาสตร์วิทยุแห่งชาติ
Thai National Radio Astronomy Observatory
อุทยานดาราศาสตร์สิรินธร
Princess Sirindhorn AstroPark
หอดูดาวภูมิภาคสำหรับประชาชน
Regional Observatory for the Public
กล้องโทรทรรศน์อัตโนมัติในต่างประเทศ
Thai Robotic Telescope Network
Upcoming Events
งานประชุมผู้ใช้งานกล้องโทรทรรศน์วิทยุ JCMT 2025
งานประชุมนานาชาติสำหรับผู้ใช้งานกล้องโทรทรรศน์วิทยุ JCMT (James Clerk Maxwell Telescope) ของหน่วยงาน EAO (East Asian Observatory) เนื่องในโอกาสที่ NARIT ได้มี MoU ร่วมกับหน่วยงาน EAO และการจัดงานครั้งนี้จะจัดขึ้นที่ โรงแรม แคนทารี่ ฮิลส์ เชียงใหม่
ก.ค.
1
VISIT US
ท้องฟ้าจำลอง และนิทรรศการ
Social Media
ข่าวดาราศาสตร์
04 กรกฎาคม 2568
4 กรกฎาคม 2568 โลกไกลดวงอาทิตย์ที่สุดในรอบปี
โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นวงรี ไม่ได้เป็นวงกลมสมบูรณ์ ทำให้ในแต่ละปี โลกจะมีจุดที่เข้าใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด (Perihelion) และจุดที่ห่างไกลที่สุด (Aphelion)
03 กรกฎาคม 2568
นักดาราศาสตร์พบ "3I/ATLAS" วัตถุจากนอกระบบสุริยะดวงที่สามในประวัติศาสตร์
วันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 2025 ที่ผ่านมา ทีมนักดาราศาสตร์จากเครือข่ายกล้องโทรทรรศน์ ATLAS (Asteroid Terrestrial-impact Last Alert System) ค้นพบวัตถุคล้ายดาวหาง C/2025 N1 (ATLAS) โดยดาวหางดวงนี้มาจากทิศทางของกลุ่มดาวคนยิงธนู
02 กรกฎาคม 2568
"Arp 105" กาแล็กซีกีตาร์ในห้วงอวกาศ
“Arp 105” คือระบบกาแล็กซีที่เกิดจากการชนและรวมตัวกันของกาแล็กซีสองแห่ง ด้านบนคือ NGC 3561B ซึ่งเป็นกาแล็กซีทรงรี (Elliptical galaxy) ส่วนด้านล่างคือ NGC 3561A ซึ่งเป็นกาแล็กซีกังหัน (Spiral galaxy) ซึ่งทั้งสองมีปฏิสัมพันธ์กันทางแรงโน้มถ่วง ส่งผลให้เกิดหางแก๊สและฝุ่นทอดยาวออกไปกว่า 362,000 ปีแสง ภายในหางนี้ประกอบไปด้วย กระจุกดาว (Star cluster) และกาแล็กซีแคระ (Dwarf galaxy) การเรียงตัวของกาแล็กซีทั้งสองแห่ง รวมถึงหางแก๊สและฝุ่นที่ทอดยาวนี้ ทำให้ Arp 105 มีรูปร่างคล้าย “กีตาร์ในห้วงอวกาศ”
01 กรกฎาคม 2568
What's up in the sky July - 2025 ท้องฟ้าเดือนกรกฎาคม 2568
ปรากฏการณ์เด่น 4 กรกฎาคม 2568 (ช่วงเช้า)โลกอยู่ไกลดวงอาทิตย์มากที่สุดในรอบปี เวลา 12:57 น. (ช่วงหัวค่ำ) ดาวพุธอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ไปทางทิศตะวันออกมากที่สุด ทางทิศตะวันตก เวลาประมาณ 19:17 น. มีเวลาสังเกตประมาณ 1 ชั่วโมง