ข่าวทั้งหมด ข่าวดาราศาสตร์

เอกภพของเราถือกำเนิดขึ้นเมื่อราวๆ 13,000 ล้านปีก่อน ในระยะแรกๆ เอกภพมีเพียงอะตอมเดี่ยวๆ แต่หลังจากนั้นราว 10,000 ปีนับจากจุดที่เอกภพถือกำเนิด อุณหภูมิของเอกภพเริ่มลดต่ำลงมากพอที่อะตอมเริ่มมารวมตัวกันเป็นโมเลกุลแรก นั่นคือ ไอออนฮีเลียมไฮไดรด์ ซึ่งเกิดจากอะตอมของธาตุไฮโดรเจนและฮีเลียม ( HeH+)

| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 6192

Read more ...

ExoMars Trace Gas Orbiter (เรียกย่อๆว่า TGO) เป็นยานอวกาศในโครงการเอกโซมาร์สที่ถูกส่งไปโคจรรอบดาวอังคารมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 2016 แล้ว โดยยานอวกาศลำนี้เป็นความร่วมมือขององค์การอวกาศยุโรปและองค์การอวกาศรัสเซีย  จุดประสงค์หนึ่งของโครงการนี้คือ การหาร่องรอยและความเป็นไปได้ของสิ่งมีชีวิตบนดาวอังคาร

| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 6280

Read more ...

วันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2562 เวลา 20:00 น. หน่วยงานดาราศาสตร์แถลงผลงานวิจัยล่าสุดจากเครือข่ายกล้องโทรทรรศน์อีเวนต์ฮอไรซัน (Event Horizon Telescope : EHT) สามารถถ่ายภาพหลุมดำได้เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์  นับเป็นความสำเร็จทางวิทยาศาสตร์อันยิ่งใหญ่อีกครั้งหนึ่งของมวลมนุษยชาติ

| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 4941

Read more ...

ทุกวันนี้ ผิวดาวอังคารนั้นแห้งแล้งและปรากฏเป็นสีแดงของสนิมเหล็ก แต่เมื่อปลายเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2019 ที่เพิ่งผ่านมานี้ ยาน Mars Express ค้นพบหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าใต้ผิวดาวอังคารเคยมีทะเลสาบหลายแห่งที่เชื่อมต่อกันโดยมีทะเลสาบ 5 แห่งที่มีแร่ธาตุที่เอื้อต่อการเกิดขึ้นของสิ่งมีชีวิต

| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 2946

Read more ...

กว่า 150 ปีมาแล้วที่นักดาราศาสตร์ฉงนกับปริศนาที่ว่าเหตุใด บรรยากาศชั้นโคโรนาซึ่งเป็นบรรยากาศชั้นนอกสุดของดวงอาทิตย์จึงมีอุณหภูมิสูงยิ่งกว่าผิวดวงอาทิตย์ราว 200 เท่า ความร้อนมหาศาลนี้ทำให้อนุภาคมีประจุไฟฟ้าที่เคลื่อนผ่านมีความเร็วสูงอย่างยิ่ง และเมื่อมันพุ่งมายังโลกก็อาจก่อให้เกิดปัญหากับดาวเทียมสื่อสารหรือร่างกายนักบินอวกาศในสถานีอวกาศในระยะยาว รวมทั้งโครงสร้างที่เกี่ยวข้องกับไฟฟ้าอย่างโรงไฟฟ้าได้

| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 3130

Read more ...

ในปี ค.ศ. 1971 นักบินอวกาศในโครงการอะพอลโล 14 เดินทางไปยังดวงจันทร์แล้วนำตัวอย่างหินบนดวงจันทร์กลับมายังโลกเพื่อศึกษา

| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 5947

Read more ...

เช้าวันเสาร์ที่ 8 ธันวาคม ค.ศ. 2018  ประเทศจีนได้ส่งจรวดลองมาร์ช 3 บี (Long March 3B) ที่มียานสำรวจฉางเอ๋อ 4 (Chang’e 4) ขึ้นสู่อวกาศ โดยชื่อของยานถูกตั้งชื่อตามเทพธิดาแห่งดวงจันทร์ตามความเชื่อของชาวจีน 
| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 4693

Read more ...

เย็นของวันที่ 3 ธันวาคม ค.ศ. 2018 จรวดโซยูส MS-11 ได้พา Oleg Kononenko ผู้บัญชาการภารกิจชาวรัสเซีย Anne McClain นักบินอวกาศชาวสหรัฐ และ David Saint-Jacques นักบินอวกาศชาวแคนาดา สามลูกเรือในภารกิจ Expedition 58 เดินทางขึ้นสู่อวกาศได้สำเร็จ และพวกเขาใช้เวลาประมาณ 6 ชั่วโมง เพื่อเดินทางไปเชื่อมต่อเข้ากับสถานีอวกาศนานาชาติหรือ ISS
| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 8326

Read more ...

5 พฤศจิกายน ค.ศ. 2018 ที่ผ่านมา ยาน Parker Solar Probe ได้เข้าไปเฉียดใกล้ดวงอาทิตย์ในระยะห่าง 24 ล้านกิโลเมตรซึ้งใกล้กว่าที่ยานอวกาศทุกลำ ล่าสุดมันก็ได้ติดต่อกลับโลก พร้อมกับคอยส่งข้อมูลต่างๆ กลับมาอย่างต่อเนื่อง

| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 6286

Read more ...

หลุมดำมวลยิ่งยวดนั้นเป็นหลุมดำที่มีมวลมากกว่าดวงอาทิตย์ร้อยล้านจนถึงพันล้านเท่า พบได้ที่ใจกลางกาแล็กซีใหญ่ๆแทบทุกกาแล็กซี ปัญหาหนึ่งที่คาใจนักดาราศาสตร์คือ อะไรทำให้หลุมดำมวลยิ่งยวดบางดวงปลดปล่อยลำพลังงานด้วยความเร็วมหาศาลออกมาในรูปเจ็ท ในขณะที่หลุมดำมวลยิ่งยวดบางดวงกลับอยู่นิ่งเงียบ
| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 2855

Read more ...

สนามแม่เหล็กของโลกเรานั้นเกิดจากแก่นด้านนอกที่เป็นเหล็กหลอมเหลวเกิดการไหลเนื่องจากความร้อนภายในโลก เหล็กนั้นมีอิเล็กตรอนอิสระ ดังนั้นเมื่อเกิดการไหลจึงทำให้เกิดกระแสไฟฟ้า และเมื่อเกิดกระแสไฟฟ้าไหลวนย่อมเกิดการแผ่สนามแม่เหล็กออกมาโดยรอบ โดยที่ขั้วโลกเหนือนั้นเสมือนมีแม่เหล็กขั้วใต้ฝังอยู่ และที่ขั้วโลกใต้นั้นเสมือนมีแม่เหล็กขั้วเหนือฝังอยู่
| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 2165

Read more ...

6 ปีหลังจากยานวอยเอเจอร์ 1 เดินทางเข้าสู่ที่ว่างระหว่างดวงฤกษ์ ในตอนนี้ยานวอยเอเจอร์ 2 ก็กำลังเดินทางไปถึงสุดขอบของระบบสุริยะแล้วเช่นกัน
| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 3569

Read more ...

มลภาวะทางแสงที่เกาะชวา ICEsat-2 ดาวเทียมดวงใหม่ที่นาซาส่งไปสำรวจน้ำแข็งขั้วโลก นักดาราศาสตร์พบแสงวาบรังสีแกมมาเคลื่อนที่กลับหน้า-หลังจากหลุมดำ อีลอน มัสก์ แถลงพร้อมพานักท่องเที่ยวทัวร์รอบดวงจันทร์ไปกับจรวดรุ่นใหม่ในอีก 5 ปีข้างหน้า การเดินทางไปกลับดาวอังคารทำให้ได้รับรังสีสูงถึง 60% ของที่ควรได้รับตลอดอาชีพ ดาวเคราะห์น้อยคู่แสดงให้เห็นความวุ่นวายของระบบสุริยะยุคแรกเริ่ม “โจเซลิน เบลล์ เบอร์แนลล์” รับรางวัล Special Breakthrough Prize สาขาฟิสิกส์พื้นฐานจากการค้นพบพัลซาร์ กล้องอัลมาค้นพบแหล่งกำเนิดกัมมันตรังสีในทางช้างเผือก นักบินอวกาศเร่งอุดรูรั่วบนสถานีอวกาศนานาชาติ อัพเดตความคืบหน้าล่าสุดของโครงการกล้องโทรทรรศน์ไจแอนท์แมกเจลแลน 1 ใน 3 กล้องโทรทรรศน์ในช่วงคลืนที่ตามองเห็นที่ใหญ่ที่สุดในโลก
Page 14 of 15