ข่าวทั้งหมด ข่าวดาราศาสตร์

ในช่วงปี ค.ศ.2001 ถึง 2011 นักดาราศาสตร์ได้เก็บข้อมูลสเปกตรัมของกาแล็กซีขนาดเล็กที่อยู่ห่างจากโลกออกไป 75 ล้านปีแสง ที่รู้จักกันในชื่อ “กาแล็กซีแคระคินแมน (Kinman Dwarf Galaxy)” เนื่องจากกาแล็กซีนี้มีขนาดเล็กและอยู่ไกลมาก จึงไม่สามารถศึกษาดาวฤกษ์แต่ละดวงในที่อยู่ในกาแล็กซีนี้ได้ ทำได้เพียงศึกษาสเปกตรัมโดยรวมของทั้งกาแล็กซี แต่อย่างไรก็ตาม ดาวฤกษ์ที่สว่างมากและมีคุณสมบัติที่แตกต่างจากดาวดวงอื่น จะปรากฏเอกลักษณ์อย่างเด่นชัดบนสเปกตรัมของกาแล็กซี

| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 3634

Read more ...

เป็นที่ทราบกันว่าดาวเคราะห์แคระ “พลูโต” ประกอบด้วยดวงจันทร์ทั้งหมด 5 ดวง ได้แก่ ดวงจันทร์แครอน (Charon) ซึ่งเป็นดวงจันทร์ที่มีขนาดใหญ่สุดของพลูโต และดวงจันทร์ขนาดเล็กอีก 4 ดวง ได้แก่ ดวงจันทร์ไฮดรา (Hydra) นิกซ์ (Nix) เคอร์เบอรอส (Kerberos) และสติกซ์ (Styx) ผลจากการศึกษาที่ผ่านมา นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าระบบดวงจันทร์ของพลูโตเกิดจากวัตถุขนาดใหญ่พุ่งชนพลูโตแล้วหลุดกระเด็นออกมาเป็นดาวบริวารทั้ง 5 ดวง

| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 5431

Read more ...

ภาพพื้นผิวของดาวพลูโต ดาวเคราะห์แคระดวงหนึ่งที่อยู่ห่างจากโลกของเรากว่า 5,000 ล้านกิโลเมตร ที่ถูกส่งกลับมายังโลกจากยานสำรวจอวกาศนิวฮอไรซอนส์ ภายหลังยานสำรวจอวกาศลำนี้ได้เข้าทำภารกิจสำรวจดาวเคราะห์แคระพลูโตในระยะใกล้สุดเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 2561

Read more ...

องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติสหรัฐฯ หรือนาซา ตัดสินใจขยายระยะเวลาปฏิบัติภารกิจของยานสำรวจดาวเคราะห์ 2 ลำ เนื่องจากมีผลงานการค้นพบทางวิทยาศาสตร์ที่สำคัญเป็นจำนวนมาก ได้แก่ จูโน (JUNO) และ อินไซต์ (InSight) สองภารกิจที่กระตุ้นให้เกิดคำถาม และเพิ่มเติมความเข้าใจเกี่ยวกับระบบสุริยะอย่างมหาศาล

| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 1579

Read more ...

นักวิทยาศาสตร์พบวัสดุที่มีประสิทธิภาพในการขับเคลื่อนด้วยความดันแสงมากกว่าแผ่นไมลาร์ซึ่งเคยใช้กับยานอวกาศ LightSail 1 และ LightSail 2 อาจเป็นแนวทางใหม่ในการขับเคลื่อนยานอวกาศในอนาคต

| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 1698

Read more ...

นักวิทยาศาสตร์ค้นพบดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะที่มีขนาดใกล้เคียงกับดาวพฤหัสบดี แต่มีอายุน้อยกว่าและโคจรใกล้กับดาวฤกษ์ดวงแม่มาก ซึ่งเรียกดาวเคราะห์ประเภทนี้ว่า ดาวพฤหัสบดีร้อน (Hot Jupiter) การค้นพบครั้งนี้อาจช่วยตอบข้อสงสัยของนักวิทยาศาสตร์ได้ว่าดาวเคราะห์ประเภทนี้เกิดขึ้นได้อย่างไร?

| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 2244

Read more ...

ภาพเนบิวลาดาวเคราะห์ NGC 6302 และ NGC 7027 ในหลากหลายช่วงคลื่น จากกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล ช่วยให้นักวิจัยศึกษากลไกความซับซ้อนของลำอนุภาคพลังงานสูง และกลุ่มแก๊สที่ฟุ้งกระจายออกมาจากใจกลางเนบิวลาทั้งสอง

| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 10785

Read more ...

สถานีอวกาศนานาชาติเผชิญปัญหาการสูญเสียความดันภายใน เนื่องจากมีการรั่วไหลของอากาศ ตั้งแต่เดือนกันยายน พ.ศ. 2562 ที่ผ่านมา

| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 3773

Read more ...

นักดาราศาสตร์ สดร. ร่วมทีมนักดาราศาสตร์นานาชาติ  เก็บข้อมูลผ่านเครือข่ายกล้องโทรทรรศน์วิทยุแทรกสอดระยะไกล VERA ของประเทศญี่ปุ่น พบว่าโลกเคลื่อนที่เร็วขึ้น ด้วยอัตรา 7 กิโลเมตรต่อวินาที และเข้าใกล้หลุมดำมวลมหาศาลใจกลางกาแล็กซีทางช้างเผือกมากขึ้น ที่ระยะสั้นกว่าเดิมประมาณ 2,000 ปีแสง  แต่อย่างไรก็ตามโลกของเราจะยังไม่ถูกดูดเข้าสู่หลุมดำได้โดยง่าย ผลการวิจัยดังกล่าวได้รับการตีพิมพ์ลงใน  Publications of the Astronomical Society of Japan เมื่อสิงหาคม 2563 ที่ผ่านมา

| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 4721

Read more ...

ภาพนี้บันทึกโดยกล้องโทรทรรศน์ “High Resolution Coronal Imager” หรือ “Hi-C” เป็นกล้องที่ติดตั้งอยู่บนจรวดประเภท “suborbital-flight” กล่าวคือ เป็นจรวดที่ส่งขึ้นไปในอวกาศแล้วตกกลับมายังโลก ซึ่ง Hi-C สามารถถ่ายภาพดวงอาทิตย์ที่เห็นรายละเอียดสูงถึงระดับ 70 กิโลเมตร หรือประมาณ 0.01 เปอร์เซ็นต์ของขนาดดวงอาทิตย์ นับเป็นภาพถ่ายชั้นบรรยากาศของดวงอาทิตย์ที่มีความละเอียดสูงสุดเท่าที่เคยมีมา

| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 3487

Read more ...

นักวิจัยค้นพบบันทึกในสมัยก่อนบ่งชี้ว่าอุกกาบาตที่ตกลงสู่โลกในปี พ.ศ. 2431 ได้คร่าชีวิตคนไปหนึ่งคน และมีผู้ได้รับบาดเจ็บสาหัสอีกด้วย นับเป็นหลักฐานที่เก่าแก่ที่สุดที่บ่งชี้ว่ามีคนเสียชีวิตจากอุกกาบาต

| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 3455

Read more ...

ดาวเคราะห์น้อยอะโพฟิสเป็นดาวเคราะห์น้อยที่นักดาราศาสตร์จับตามอง เนื่องจากเป็นหนึ่งในดาวเคราะห์น้อยสามดวงที่มีโอกาสพุ่งชุนโลกในอนาคตอีกหนึ่งร้อยปี แต่ไม่นานมานี้ นักดาราศาสตร์จากมหาวิทยาลัยฮาวายได้เปิดเผยว่า วงโคจรของอะโฟฟิสมีความเปลี่ยนแปลงและอาจพุ่งชนโลกในอีก 48 ปี ประมาณวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2611

| Category: ข่าวดาราศาสตร์ | Hits: 8771

Read more ...

รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ 2020 การศึกษาชั้นบรรยากาศของโลกยุคโบราณ อาจช่วยให้ค้นหาเบาะแสของสิ่งมีชีวิตนอกโลก “ดาวฤกษ์คล้ายดวงอาทิตย์” อาจไม่ได้เงียบสงบเหมือนดวงอาทิตย์เสมอไป “ดาวแคระขาว” แหล่งผลิตคาร์บอนขนาดใหญ่ในเอกภพ ดาวหางนีโอไวส์ ยังคงเฝ้าติดตามได้ต่อไป ด้วยกล้องส่องทางไกลหรือกล้องสองตา ในช่วงเดือนสิงหาคม สหรัฐฯ ปล่อยยานในภารกิจ Mars2020 ขึ้นสู่อวกาศสำเร็จแล้ว “คำถามสู่สรวงสวรรค์” จากจีนขึ้นสู่อวกาศเพื่อมุ่งสู่ดาวอังคารแล้ว นักวิจัย สดร. ร่วมทีมไขปริศนาต้นกำเนิดดาวฤกษ์มวลมาก ด้วยเครือข่ายกล้องโทรทรรศน์วิทยุแทรกสอดระยะไกล KaVA ดาวฤกษ์ “S2” เป็นไปตามคำทำนายของทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปของไอน์สไตน์ ความหวังสู่ดาวอังคารของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ขึ้นสู่อวกาศสำเร็จแล้ว
Page 6 of 15