บทความภาพภ่ายดาราศาสตร์

บทความดาราศาสตร์

บทความดาราศาสตร์

การสังเกตจันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) เพื่อกำหนดเดือนรอญับ (Rajab) ฮ.ศ.1443

การสังเกตจันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) เพื่อกำหนดเดือนรอญับ (Rajab) ฮ.ศ.1443

เนื่องจากวันอังคารที่ 4 มกราคม พ.ศ.2565 ตรงกับวันที่ 1 เดือนญามาดิล อาเคร (Jamadil Akhir - เดือนที่ 6 ในปฏิทินอิสลาม) ฮ.ศ.1443 ดังนั้น วันที่ชาวไทยมุสลิมจะต้องออกมาสังเกตดวงจันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) ในครั้งต่อไปคือ ช่วงเย็นเวลาหลังดวงอาทิตย์ตกลับขอบฟ้าในวันที่ 29 เดือนญามาดิล อาเคร ซึ่งปีนี้จะตรงกับวันอังคารที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2565 เพื่อที่จะกำหนดวันที่ 1 เดือนรอญับ (Rajab  เดือนที่ 7 ในปฏิทินอิสลาม) ประจำปีฮิจเราะห์ศักราช 1443

Read more ...

การสังเกตจันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) เพื่อกำหนดเดือนญามาดิล อาเคร  (Jamadil  Akhir)  ฮ.ศ.1443

การสังเกตจันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) เพื่อกำหนดเดือนญามาดิล อาเคร  (Jamadil  Akhir)   ฮ.ศ.1443

เนื่องจากวันจันทร์ที่ 6 ธันวาคม พ.ศ.2564 ตรงกับวันที่ 1 เดือนญามาดิล อาวัล (Jamadil Awal - เดือนที่ 5 ในปฏิทินอิสลาม) ฮ.ศ.1443 ดังนั้น วันที่ชาวไทยมุสลิมจะต้องออกมาสังเกตดวงจันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) ในครั้งต่อไปคือ ช่วงเย็นเวลาหลังดวงอาทิตย์ตกลับขอบฟ้าในวันที่ 29 เดือนญามาดิล อาวัล ซึ่งปีนี้จะตรงกับวันจันทร์ที่ 3 มกราคม พ.ศ.2565 เพื่อที่จะกำหนดวันที่ 1 เดือนญามาดิล อาเคร (Jamadil Akhir - เดือนที่ 6 ในปฏิทินอิสลาม) ประจำปีฮิจเราะห์ศักราช 1443

Read more ...

การสังเกตจันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) เพื่อกำหนดเดือนญามาดิล อาวัล (Jamadil  Awal) ฮ.ศ.1443

การสังเกตจันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) เพื่อกำหนดเดือนญามาดิล อาวัล (Jamadil  Awal) ฮ.ศ.1443

เนื่องจากวันอาทิตย์ที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ.2564 ตรงกับวันที่ 1 เดือนรอบีอุล อาเคร (Rabiul Akhir - เดือนที่ 4 ในปฏิทินอิสลาม) ฮ.ศ.1443 ดังนั้น วันที่ชาวไทยมุสลิมจะต้องออกมาสังเกตดวงจันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) ในครั้งต่อไปคือ ช่วงเย็นเวลาหลังดวงอาทิตย์ตกลับขอบฟ้าในวันที่ 29 เดือนรอบีอุล อาเคร ซึ่งปีนี้จะตรงกับวันอาทิตย์ที่ 5 ธันวาคม พ.ศ.2564 เพื่อที่จะกำหนดวันที่ 1 เดือนญามาดิล อาวัล (Jamadil Awal - เดือนที่ 5 ในปฏิทินอิสลาม) ประจำปีฮิจเราะห์ศักราช 1443

Read more ...

การสังเกตจันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) เพื่อกำหนดเดือนรอบีอุล อาเคร (Rabiul Akhir) ฮ.ศ.1443

การสังเกตจันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) เพื่อกำหนดเดือนรอบีอุล อาเคร (Rabiul Akhir) ฮ.ศ.1443

เนื่องจากวันศุกร์ที่ 8 ตุลาคม พ.ศ.2564 ตรงกับวันที่ 1 เดือนรอบีอุล เอาวัล (Rabiul Awal - เดือนที่ 3 ในปฏิทินอิสลาม) ฮ.ศ.1443 ดังนั้น วันที่ชาวไทยมุสลิมจะต้องออกมาสังเกตดวงจันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) ในครั้งต่อไปคือ ช่วงเย็นเวลาหลังดวงอาทิตย์ตกลับขอบฟ้าวันที่ 29 เดือนรอบีอุล เอาวัล ซึ่งปีนี้จะตรงกับวันศุกร์ที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ.2564 เพื่อที่จะกำหนดวันที่ 1 เดือนรอบีอุล อาเคร (Rabiul Akhir - เดือนที่ 4 ในปฏิทินอิสลาม) ประจำปีฮิจเราะห์ศักราช 1443

Read more ...

“สิงคโปร์” นครรัฐเล็ก ๆ ใน ASEAN กับอุตสาหกรรมอวกาศ

“สิงคโปร์” นครรัฐเล็ก ๆ ใน ASEAN กับอุตสาหกรรมอวกาศ

ปกติแล้วเมื่อเรานึกถึงประเทศที่ชั้นแนวหน้าด้านเทคโนโลยีอวกาศ เรามักจะนึกถึงประเทศสหรัฐฯ รัสเซีย จีน กลุ่มชาติยุโรป ญี่ปุ่น อินเดีย ที่มีพื้นที่ใหญ่พอจะมีฐานปล่อยจรวดในพื้นที่ห่างไกลผู้คนได้ แต่ยังมีชาติเล็ก ๆ ที่มีข้อจำกัดไม่สามารถพัฒนาจรวดให้ปล่อยจากพื้นที่ในประเทศได้ แต่ก็ยังตั้งเป้าหมายที่จะพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศ อย่าง “สิงคโปร์” นครรัฐเล็ก ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่มีพื้นที่ใหญ่กว่าจังหวัดนนทบุรีไม่มาก

Read more ...

การสังเกตจันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) เพื่อกำหนดเดือนรอบีอุล เอาวัล  (Rabiul Awal) ฮ.ศ.1443

การสังเกตจันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) เพื่อกำหนดเดือนรอบีอุล เอาวัล  (Rabiul Awal) ฮ.ศ.1443

เนื่องจากวันพฤหัสบดีที่ 9 กันยายน พ.ศ.2564 ตรงกับวันที่ 1 เดือนซอฟาร (Safar - เดือนที่ 2 ในปฏิทินอิสลาม) ฮ.ศ.1443 ดังนั้น วันที่ชาวไทยมุสลิมจะต้องออกมาสังเกตดวงจันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) ในครั้งต่อไปคือ ช่วงเย็นเวลาหลังดวงอาทิตย์ตกลับขอบฟ้าวันที่ 29 เดือนซอฟาร ซึ่งปีนี้จะตรงกับวันพฤหัสบดีที่ 7 ตุลาคม พ.ศ.2564 เพื่อที่จะกำหนดวันที่ 1 เดือนรอบีอุล เอาวัล (Rabiul Awal - เดือนที่ 3 ในปฏิทินอิสลาม) ประจำปีฮิจเราะห์ศักราช 1443

Read more ...

จันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) เพื่อกำหนดเดือนซอฟาร (Safar) ฮ.ศ.1443

จันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) เพื่อกำหนดเดือนซอฟาร (Safar) ฮ.ศ.1443

เนื่องจากวันอังคารที่ 10 สิงหาคม พ.ศ.2564 ตรงกับวันที่ 1 เดือนมุฮัรรอม (Muharam เดือนที่ 1 ในปฏิทินอิสลาม) ฮ.ศ.1443 ดังนั้น วันที่ชาวไทยมุสลิมจะต้องออกมาสังเกตดวงจันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) ในครั้งต่อไปคือ ช่วงเย็นเวลาหลังดวงอาทิตย์ตกลับขอบฟ้าวันที่ 29 เดือนมุฮัรรอม ซึ่งปีนี้จะตรงกับวันอังคารที่ 7 กันยายน พ.ศ.2564 เพื่อที่จะกำหนดวันที่ 1 เดือนซอฟาร (Safar เดือนที่ 2 ในปฏิทินอิสลาม) ประจำปีฮิจเราะห์ศักราช 1443

Read more ...

จันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) เพื่อกำหนดวันขึ้นปีใหม่ ในเดือนมุฮัรรอม (Muharam)  ฮ.ศ.1443

จันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) เพื่อกำหนดวันขึ้นปีใหม่ ในเดือนมุฮัรรอม (Muharam)   ฮ.ศ.1443

เนื่องจากวันจันทร์ที่ 12 กรกฏาคม พ.ศ.2564 ตรงกับวันที่ 1 เดือนซุลฮิจญะฮ์ (Zul Hijah เดือนที่ 12 ในปฏิทินอิสลาม) ฮ.ศ.1443 ดังนั้น วันที่ชาวไทยมุสลิมจะต้องออกมาสังเกตดวงจันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) ในครั้งต่อไปคือ ช่วงเย็นเวลาหลังดวงอาทิตย์ตกลับขอบฟ้าวันที่ 29 เดือนซุลฮิจญะฮ์ ซึ่งปีนี้จะตรงกับวันจันทร์ที่ 9 สิงหาคม พ.ศ.2564 เพื่อที่จะกำหนดวันขึ้นปีใหม่ หรือวันที่ 1 เดือนมุฮัรรอม (Muharam เดือนที่ 1 ในปฏิทินอิสลาม) วันสำคัญประจำเดือนมุฮัรรอมจะเป็นวันที่ 10 ของเดือน จะมีชื่อเรียกว่าวันอาซูรอ (“อาซูรอ” เป็นชื่อจากภาษาอาหรับ มีความหมายว่าสิบ) ซึ่งวันอาซูรอในปีนี้จะตรงกับวันไหนขึ้นอยู่กับผลการสังเกตดวงจันทร์เสี้ยวแรกในวันจันทร์ที่ 9 สิงหาคม พ.ศ.2564 เวลาหลังดวงอาทิตย์ตกลับขอบฟ้า

Read more ...

"เทศกาลราตรีแห่งเลขเจ็ด" เทศกาลตามประเพณีร่วมของจีน เกาหลี ญี่ปุ่น และเวียดนาม

"เทศกาลราตรีแห่งเลขเจ็ด" เทศกาลตามประเพณีร่วมของจีน เกาหลี ญี่ปุ่น และเวียดนาม

ในวันที่ 7 กรกฎาคมที่ผ่านมา คนไทยหลายคนอาจทราบว่าเป็น “วันที่ 7 เดือน 7” ซึ่งเป็นวันจัดเทศกาลทานาบาตะของญี่ปุ่น ที่มีธรรมเนียมการเขียนคำอธิษฐานลงกระดาษไปผูกกับกิ่งไผ่ แต่ที่จริงแล้วเทศกาล “วันที่ 7 เดือน 7” ไม่ได้มีเพียงในญี่ปุ่นเท่านั้น แต่ยังมีในประเทศอื่น ๆ ร่วมภูมิภาค อย่างจีน เกาหลี และเวียดนามด้วย

Read more ...

เกณฑ์พิจารณาการมองเห็นจันทร์เสี้ยวใหม่ของมาเลเซีย

เกณฑ์พิจารณาการมองเห็นจันทร์เสี้ยวใหม่ของมาเลเซีย

มาเลเซียเป็นประเทศเพื่อนบ้านที่น่าจับตามองในการพัฒนาเกณฑ์พิจารณาการมองเห็นจันทร์เสี้ยว เพราะเป็นหนึ่งในประเทศที่นำการคำนวณทางดาราศาสตร์มาใช้กำหนดวันเริ่มต้นของเดือนอิสลามพร้อมกับ  “รุกยะห์” (การมองเห็นด้วยตาเปล่า) โดยใช้เกณฑ์การคํานวณทางดาราศาสตร์ ที่เรียกว่าเกณฑ์     “อิมกาน อัลรุกยะห์ 2 - 3 - 8” (Imkan al-Rukyah/expected visibility) คือ ความเป็นไปได้ที่จะสามารถมองเห็นจันทร์เสี้ยว ซึ่งจันทร์เสี้ยวจะถูกรับรองว่าเห็น เมื่อเป็นตามเงื่อนไขต่อไปนี้

Read more ...

ที่มาของเกณฑ์ “อิมกาน อัลรุกยะห์” (Imkan al-Rukyah/expected visibility)  ความเป็นไปได้ที่สามารถมองเห็นจันทร์เสี้ยวในมาเลเซีย

ที่มาของเกณฑ์ “อิมกาน อัลรุกยะห์” (Imkan al-Rukyah/expected visibility)  ความเป็นไปได้ที่สามารถมองเห็นจันทร์เสี้ยวในมาเลเซีย

มาเลเซียเป็นหนึ่งในประเทศมุสลิมที่นำการคำนวณมาใช้กําหนดวันแรกของเดือนตามปฏิทินอิสลามร่วมกับ “รุกยะห์” (Rukyah) หรือ การมองเห็นด้วยตาเปล่า โดยใช้หลักการคำนวณตามเกณฑ์ “อิมกาน อัลรุกยะห์” (Imkan al-Rukyah/expected visibility) คือ ความเป็นไปได้ที่สามารถมองเห็นจันทร์เสี้ยว  จันทร์เสี้ยวจะถูกรับรองว่าเห็น เมื่อเป็นตามเงื่อนไขข้อใดข้อหนึ่ง ต่อไปนี้

Read more ...

จันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) เพื่อกำหนดเดือนซุลฮิจญะฮ์ (Zul Hijah) ฮ.ศ. 1442

จันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) เพื่อกำหนดเดือนซุลฮิจญะฮ์ (Zul Hijah) ฮ.ศ. 1442

เนื่องจากวันเสาร์ที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2564 ตรงกับวันที่ 1 ซุลกอดะห์ (Zul Qadah  เดือนที่ 11 ในปฏิทินอิสลาม) ฮ.ศ. 1442 ดังนั้นวันที่ชาวไทยมุสลิมจะต้องออกมาสังเกตดวงจันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) ในครั้งต่อไป คือ ช่วงเย็นเวลาหลังดวงอาทิตย์ตกลับขอบฟ้าของวันที่ 29 เดือนซุลกอดะห์ ซึ่งปีนี้จะตรงกับวันเสาร์ที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 เพื่อที่จะกำหนดวันเวลาเริ่มต้นเดือนใหม่คือเดือนซุลฮิจญะฮ์ (Zul Hijah เดือนที่ 12 ในปฏิทินอิสลาม) พร้อมกับกำหนดวันสำคัญประจำเดือนซุลฮิจญะฮ์ คือกำหนดวันอิดฎิ้ลอัฎฮา (วันฮารีรายอฮัจญี) ซึ่งจะตรงกับวันที่ 10 เดือนซุลฮิจญะฮ์ เป็นวันเฉลิมฉลองใหญ่ของชาวมุสลิม ดังนั้นการกำหนดวันอิดฎิ้ลอัฎฮา (วันฮารีรายอฮัจญี) จะขึ้นอยู่กับผลของการสังเกตดวงจันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) ในวันเสาร์ที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 ซึ่งหากผลการสังเกตดวงจันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) ในวันเวลาดังกล่าวมีผู้คนที่สามารถเห็นดวงจันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) ชาวไทยมุสลิมก็จะกำหนดให้วันอาทิตย์ที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 เป็นวันที่ 1 ของเดือนซุลฮิจญะฮ์ (Zul Hijah เดือนที่ 12 ในปฏิทินอิสลาม) และจะกำหนดวันอิดฎิ้ลอัฎฮา (วันฮารีรายอฮัจญี) หรือวันที่ 10 เดือนซุลฮิจญะฮ์ ประจำปี ฮ.ศ. 1442 จะตรงกับวันอังคารที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2564

Read more ...

จันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) เพื่อกำหนดเดือนซุลกอดะห์ (Zul Qadah)  ฮ.ศ.1442 จันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) เพื่อกำหนดเดือนเชาวัล (Shawwal) ฮ.ศ.1442 เกณฑ์การมองเห็นจันทร์เสี้ยว Criteria for Lunar Crescent Visibility จันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) เพื่อกำหนดเดือนชะบาน (Shaban) ฮ.ศ.1442 กลุ่มดาวฤดูใบไม้ผลิ (The Spring Constellations) จันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) เพื่อกำหนดเดือนรอญับ (Rajab) ฮ.ศ.1442 จันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) เพื่อกำหนดเดือนรอบีอุล เอาวัล (Rabiul Awal) ฮ.ศ.1442 เครื่องฉายดาวไซส์ : เครื่องฉายดาวรุ่นบุกเบิกที่ Made in Germany หอดูดาวโบราณปักกิ่ง : หอดูดาวหลวงของจีนในสมัยราชวงศ์หมิงและชิง หอดูดาวแห่งชาติชิลี : หอดูดาวภายใต้มหาวิทยาลัยเก่าแก่ และหน่วยงานที่เคยผลักดันให้นานาชาติสร้างหอดูดาวขนาดใหญ่ในประเทศ
Page 1 of 5