บทความภาพภ่ายดาราศาสตร์

บทความดาราศาสตร์

บทความดาราศาสตร์

ทำไมดาวฤกษ์ถึงเปล่งแสง?

ทำไมดาวฤกษ์ถึงเปล่งแสง?

เวลาแหงนมองท้องฟ้าที่ห่างไกลจากแสงไฟในเมือง คงไม่มีใครที่ไม่สังเกตว่าท้องฟ้าเวลากลางคืนจะมีแสงระยิบระยับของดาวหลายพันดวงบางดวงสว่างมาก บางดวงสว่างน้อย  แต่เราเคยสงสัยกันไหมว่า แสงดาวเหล่านั้นเกิดขึ้นได้อย่างไร แล้วทำไมหนังสือเรียนถึงบอกว่า ดาวฤกษ์มีแสง แต่ดาวเคราะห์กลับไม่มีแสง

Read more ...

มาประดิษฐ์อุปกรณ์ดูดวงอาทิตย์ผ่านฉากรับภาพ ต้อนรับเทศกาลชมสุริยุปราคากันเถอะ!

มาประดิษฐ์อุปกรณ์ดูดวงอาทิตย์ผ่านฉากรับภาพ ต้อนรับเทศกาลชมสุริยุปราคากันเถอะ!

        ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้โลกมากที่สุด จึงเป็นวัตถุที่น่าศึกษาเรียนรู้ อย่างไรก็ตาม แสงจากดวงอาทิตย์เป็นอันตรายต่อดวงตาของมนุษย์อย่างมาก ดังนั้นอุปกรณ์ที่ใช้สังเกตการณ์ดวงอาทิตย์ จึงต้องคำนึงถึงความปลอดภัยมากที่สุด

Read more ...

ฟ้าเปิด vs ฟ้าปิด

ฟ้าเปิด vs ฟ้าปิด

หลายคนคงเคยสงสัยว่า ทำไมดูดาวต้องฟ้าเปิดเท่านั้น? และ บางครั้งฝนไม่ตกแต่ทำไมฟ้าปิด มองไม่เห็นดวงดาว ?

Read more ...

เราแยกดาวเคราะห์กับดาวฤกษ์บนท้องฟ้าได้อย่างไร ?

เราแยกดาวเคราะห์กับดาวฤกษ์บนท้องฟ้าได้อย่างไร ?

เราสามารถแยกดาวเคราะห์กับดาวฤกษ์ในยามค่ำคืนได้คร่าวๆ 2 วิธีคือ สังเกตจากการกระพริบ และ สังเกตการเปลี่ยนตำแหน่งของดาว

Read more ...

สถานีอวกาศนานาชาติปรับหมุนทิศทางอย่างไร ?

สถานีอวกาศนานาชาติปรับหมุนทิศทางอย่างไร ?

สถานีอวกาศนานาชาติปรับหมุนทิศทางอย่างไร ? ใช้อุปกรณ์ที่เรียกว่า Control Moment Gyroscope (CMG) | Control Moment Gyroscope (CMG) คืออะไร ?

CMG เป็นอุปกรณ์ช่วยรักษาระดับทิศทางของแกนหมุนจากการทำงานของไจโรสโคป (Gyroscope) ที่อาศัยอุปกรณ์ลักษณะคล้ายล้อหมุนเร็วจนเกิดโมเมนตัมเชิงมุมขึ้น ทำให้ยังคงรักษาทิศทางไว้ได้ และสามารถเอียงในทิศทางต่างๆ ได้โดยอิสระ หลักการนี้ถูกนำไปใช้กับเข็มทิศ ระบบการบินอัตโนมัติ (Autopilot) ของเครื่องบิน กลไกบังคับหางเสือของตอร์ปิโด อุปกรณ์ป้องกันการกลิ้งบนเรือใหญ่ และระบบนำร่องเฉื่อย (Inertial guidance)

Read more ...

ทำไม ชื่อวันในภาษาอังกฤษจึงไม่ใช่ชื่อของดาวเคราะห์เหมือนในภาษาไทย?

ทำไม ชื่อวันในภาษาอังกฤษจึงไม่ใช่ชื่อของดาวเคราะห์เหมือนในภาษาไทย?

ชื่อวันในภาษาอังกฤษส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลมาจากเทพปกรณัมนอร์ส (นอร์ส หรือ Norse คือคนที่อาศัยอยู่ในสแกนดิเนเวีย เป็นต้นตระกูลของชาวดัชท์ สวีดิช นอร์วีเจียน และไอซ์แลนด์ในปัจจุบัน) แต่ก็ยังคงคาบเกี่ยวกับเทพปกรณัมกรีก อันเป็นที่มาของชื่อดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ

Read more ...

เมฆลึกลับในกลุ่มดาววัว

เมฆลึกลับในกลุ่มดาววัว

        เมฆจาง ๆ นี้ ค้นพบในปี พ.ศ. 2526 โดยดาวเทียม IRAS ที่สำรวจท้องฟ้าทั้งหมดในช่วงคลื่นอินฟราเรด ดำเนินการโดยสหรัฐอเมริกา เนเธอร์แลนด์ และสหราชอาณาจักร ค้นพบวัตถุใหม่จำนวนมากในช่วงคลื่นแสงที่ตามองไม่เห็น

Read more ...

มองกลับมุม เมื่อสังเกตโลกบนดวงจันทร์

มองกลับมุม เมื่อสังเกตโลกบนดวงจันทร์

ยูจีน เอ. เซอร์นัน (Eugene A. Cernan) นักบินอวกาศคนสุดท้ายที่เหยียบลงบนดวงจันทร์ ในภารกิจอะพอลโล 17 กับภาพถ่ายที่มีฉากหลังเป็นดาวเคราะห์ที่ชื่อว่าโลก ด้วยระยะทางกว่า 4 แสนกิโลเมตร เป็นเพียงภาพถ่ายเพียงไม่กี่ภาพที่มีทั้งดาวเคราะห์ที่เราอาศัยอยู่ถ่ายคู่กับมนุษย์บนโลก ที่ถ่ายภาพจากดาวดวงอื่น

Read more ...

การส่งยานอวกาศขึ้นสู่ห้วงอวกาศ (Launch) และจรวดตระกูลต่างๆ

การส่งยานอวกาศขึ้นสู่ห้วงอวกาศ (Launch) และจรวดตระกูลต่างๆ

ภารกิจการส่งยานอวกาศไปสู่ดาวเคราะห์หรือเป้าหมายอื่นๆในระบบสุริยะแบ่งการดำเนินงานได้เป็น 4 ช่วงได้แก่
        1. การส่งยานขึ้นสู่อวกาศ (Launch Phase)
        2. การเดินทาง (Cruise Phase)
        3. การเข้าสู่เป้าหมาย (Encounter Phase)
        4. ส่วนขยายภารกิจ (Extended Operations Phase) ซึ่งการดำเนินงานส่วนนี้ขึ้นอยู่กับสภาพของยานอวกาศขณะนั้นว่าเป็นอย่างไ รวมทั้งงบประมาณที่เหลือของภารกิจด้วย

Read more ...

ทฤษฎีสัมพันธภาพกับระบบ GPS

ทฤษฎีสัมพันธภาพกับระบบ GPS

        ทุกวันนี้การเดินทางไปยังสถานที่ต่างๆสะดวกสบายขึ้นกว่าเดิมมากเพราะมีระบบ GPS คอยบอกพิกัด ทิศทาง และเส้นทางให้ไปยังจุดหมายได้อย่างถูกต้อง รวมถึงการประยุกต์ใช้ในด้านคมนาคม การนำร่องของเครื่องบินพาณิชย์ การทหาร การเดินเรือ และระบบจรวดนำวิถีแม่นยำสูง แต่ทราบหรือไม่ว่าระบบ GPS ที่มีความแม่นยำและใช้งานอย่างแพร่หลายในอุปกรณ์ เช่น โทรศัพท์มือถือ เป็นสิ่งยืนยันว่าทฤษฎีสัมพัทธภาพนั้นได้ผลจริง!

Read more ...

กล้องโทรทรรศน์ทำงานอย่างไร ?

กล้องโทรทรรศน์ทำงานอย่างไร ?

        สาขาของวิทยาศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุด คือ ดาราศาสตร์ มนุษย์เราศึกษาวัตถุท้องฟ้าและเก็บรวบรวมข้อมูลมานานนับตั้งแต่ยุคก่อนคริสตกาล แต่เพิ่งมารู้ว่าแสงเป็นเพียงแถบเล็กๆของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าทั้งหมด ราว 200 ปีก่อนเท่านั้น
        ศาสตร์แห่งการออกแบบและสร้างอุปกรณ์เพื่อศึกษาคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากวัตถุท้องฟ้า จึงมีความสำคัญอย่างยิ่ง เพราะภาพและข้อมูลต่างๆที่นักดาราศาสตร์ได้จากอุปกรณ์เหล่านี้เปลี่ยนแปลงมุมมองที่มนุษย์เรามีต่อเอกภพอย่างมาก

Read more ...

การพิสูจน์สิ่งมีชีวิตจากบรรยากาศบนดาวเคราะห์

การพิสูจน์สิ่งมีชีวิตจากบรรยากาศบนดาวเคราะห์

        โลกเป็นที่พักพิงของสิ่งมีชีวิต การเปลี่ยนแปลงของชั้นบรรยากาศโลกในช่วงฤดูกาลต่าง ๆ จึงเป็นสิ่งสำคัญที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิตบนโลก ปัจจุบันเราสามารถใช้การศึกษาฤดูกาลบนโลก เพื่อนำไปค้นหาสิ่งมีชีวิตบนดาวเคราะห์ดวงอื่น ๆ ได้หรือไม่?

Read more ...

Page 4 of 5