บทความภาพภ่ายดาราศาสตร์

บทความดาราศาสตร์

บทความดาราศาสตร์

นักดาราศาสตร์ อาชีพที่ท้าทาย มีจักรวาลเป็นห้องแล็ปใหญ่ ให้ไขความลับไม่รู้จบ  

นักดาราศาสตร์ อาชีพที่ท้าทาย มีจักรวาลเป็นห้องแล็ปใหญ่ ให้ไขความลับไม่รู้จบ  

เริ่มต้นเดือนแห่งความรัก ฉลองการเปิดฉากอย่างเป็นทางการของ อุทยานดาราศาสตร์สิรินธร อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ กับกิจกรรมดาราศาสตร์ ในงาน NARIT AstroFest 2020 มหกรรมดาราศาสตร์ที่จัดขึ้นครั้งแรกในประเทศไทย โดยสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ หรือ สดร. เมื่อต้นเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา มีผู้สนใจเข้าชมงานเป็นจำนวนมาก

Read more ...

ดวงจันทร์เสี้ยวแรก (ฮิลาล) กับการกำหนดเดือนปฏิทินฮิจเราะห์ ประจำปี ฮ.ศ. 1441

ดวงจันทร์เสี้ยวแรก (ฮิลาล) กับการกำหนดเดือนปฏิทินฮิจเราะห์ ประจำปี ฮ.ศ. 1441

ดวงจันทร์เป็นวัตถุท้องฟ้าที่เราคุ้นเคยมากที่สุด เป็นบริวารหนึ่งเดียวของโลกและเป็นวัตถุท้องฟ้าที่อยู่ใกล้โลกมากที่สุดอีกด้วย เห็นได้ชัดในตอนกลางคืนและสวยงามมากในคืนจันทร์เพ็ญ (Full Moon) หากเราสังเกตดวงจันทร์บนท้องฟ้าในแต่ละคืน จะเห็นเฟสของดวงจันทร์ที่ปรากฏ (Phase of the moon) เปลี่ยนแปลงไปทุกวันชาวมุสลิมจะกำหนดวันที่  และวันสำคัญของแต่ละเดือนปฏิทินฮิจเราะห์หรือปฏิทินอิสลาม จากการปรากฏเฟสของดวงจันทร์ในแต่ละวัน

Read more ...

“มานิ” ก็ดูดาว

“มานิ” ก็ดูดาว

มานิ (Mani) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ในพื้นที่ภาคใต้ของประเทศไทย อาศัยในผืนป่าเทือกเขาบรรทัด บริเวณจังหวัดพัทลุง สตูล ตรัง และเทือกเขาสันกาลาคีรีในเขตจังหวัด ยะลาและนราธิวาส ชนกลุ่มนี้จะดำรงชีวิตอยู่ในป่าด้วยการหาของป่าและล่าสัตว์ ถึงแม้ทุกวันนี้อิทธิพลของสังคมเมืองจะเริ่มคืบคลานไปยังผืนป่าที่พวกเขาอาศัยอยู่

Read more ...

ตอนกลางวัน บนดวงจันทร์ก็มองเห็นดวงดาว

ตอนกลางวัน บนดวงจันทร์ก็มองเห็นดวงดาว

ถ้ามีเด็กน้อยสักคนเดินเข้ามาหาพร้อมกับคำถามที่ว่า ทำไมเราถึงมองไม่เห็นดวงดาวในเวลากลางวัน? เราคงมองหน้าเด็กอย่างงุนงง และตอบแบบไม่ต้องคิดมากว่า “ก็เพราะมีแสงดวงอาทิตย์สว่างบนท้องฟ้าจนกลบแสงดาวไปหมด …”  ก็ดูจะเป็นคำถามที่ตอบไม่ยากเย็นสักเท่าไหร่

Read more ...

AVspec ฐานข้อมูลสเปกตรัม มือสมัครเล่น หรือมืออาชีพ “ ใครๆ ก็เข้าถึงได้”

AVspec ฐานข้อมูลสเปกตรัม มือสมัครเล่น หรือมืออาชีพ “ ใครๆ ก็เข้าถึงได้”

“ ใครๆ ก็เข้าถึงได้”“เรารู้ได้อย่างไรว่า ดาวดวงนั้น ดวงโน้น ดวงนี้ ประกอบด้วยธาตุอะไรบ้าง มีอุณหภูมิเท่าไร่ มีอัตราเร็วในการหมุนแค่ไหน เป็นดาวฤกษ์ประเภทไหน” …..?

Read more ...

ทำไมดาวฤกษ์ถึงเปล่งแสง?

ทำไมดาวฤกษ์ถึงเปล่งแสง?

เวลาแหงนมองท้องฟ้าที่ห่างไกลจากแสงไฟในเมือง คงไม่มีใครที่ไม่สังเกตว่าท้องฟ้าเวลากลางคืนจะมีแสงระยิบระยับของดาวหลายพันดวงบางดวงสว่างมาก บางดวงสว่างน้อย  แต่เราเคยสงสัยกันไหมว่า แสงดาวเหล่านั้นเกิดขึ้นได้อย่างไร แล้วทำไมหนังสือเรียนถึงบอกว่า ดาวฤกษ์มีแสง แต่ดาวเคราะห์กลับไม่มีแสง

Read more ...

มาประดิษฐ์อุปกรณ์ดูดวงอาทิตย์ผ่านฉากรับภาพ ต้อนรับเทศกาลชมสุริยุปราคากันเถอะ!

มาประดิษฐ์อุปกรณ์ดูดวงอาทิตย์ผ่านฉากรับภาพ ต้อนรับเทศกาลชมสุริยุปราคากันเถอะ!

        ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้โลกมากที่สุด จึงเป็นวัตถุที่น่าศึกษาเรียนรู้ อย่างไรก็ตาม แสงจากดวงอาทิตย์เป็นอันตรายต่อดวงตาของมนุษย์อย่างมาก ดังนั้นอุปกรณ์ที่ใช้สังเกตการณ์ดวงอาทิตย์ จึงต้องคำนึงถึงความปลอดภัยมากที่สุด

Read more ...

ฟ้าเปิด vs ฟ้าปิด

ฟ้าเปิด vs ฟ้าปิด

หลายคนคงเคยสงสัยว่า ทำไมดูดาวต้องฟ้าเปิดเท่านั้น? และ บางครั้งฝนไม่ตกแต่ทำไมฟ้าปิด มองไม่เห็นดวงดาว ?

Read more ...

เราแยกดาวเคราะห์กับดาวฤกษ์บนท้องฟ้าได้อย่างไร ?

เราแยกดาวเคราะห์กับดาวฤกษ์บนท้องฟ้าได้อย่างไร ?

เราสามารถแยกดาวเคราะห์กับดาวฤกษ์ในยามค่ำคืนได้คร่าวๆ 2 วิธีคือ สังเกตจากการกระพริบ และ สังเกตการเปลี่ยนตำแหน่งของดาว

Read more ...

สถานีอวกาศนานาชาติปรับหมุนทิศทางอย่างไร ?

สถานีอวกาศนานาชาติปรับหมุนทิศทางอย่างไร ?

สถานีอวกาศนานาชาติปรับหมุนทิศทางอย่างไร ? ใช้อุปกรณ์ที่เรียกว่า Control Moment Gyroscope (CMG) | Control Moment Gyroscope (CMG) คืออะไร ?

CMG เป็นอุปกรณ์ช่วยรักษาระดับทิศทางของแกนหมุนจากการทำงานของไจโรสโคป (Gyroscope) ที่อาศัยอุปกรณ์ลักษณะคล้ายล้อหมุนเร็วจนเกิดโมเมนตัมเชิงมุมขึ้น ทำให้ยังคงรักษาทิศทางไว้ได้ และสามารถเอียงในทิศทางต่างๆ ได้โดยอิสระ หลักการนี้ถูกนำไปใช้กับเข็มทิศ ระบบการบินอัตโนมัติ (Autopilot) ของเครื่องบิน กลไกบังคับหางเสือของตอร์ปิโด อุปกรณ์ป้องกันการกลิ้งบนเรือใหญ่ และระบบนำร่องเฉื่อย (Inertial guidance)

Read more ...

ทำไม ชื่อวันในภาษาอังกฤษจึงไม่ใช่ชื่อของดาวเคราะห์เหมือนในภาษาไทย?

ทำไม ชื่อวันในภาษาอังกฤษจึงไม่ใช่ชื่อของดาวเคราะห์เหมือนในภาษาไทย?

ชื่อวันในภาษาอังกฤษส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลมาจากเทพปกรณัมนอร์ส (นอร์ส หรือ Norse คือคนที่อาศัยอยู่ในสแกนดิเนเวีย เป็นต้นตระกูลของชาวดัชท์ สวีดิช นอร์วีเจียน และไอซ์แลนด์ในปัจจุบัน) แต่ก็ยังคงคาบเกี่ยวกับเทพปกรณัมกรีก อันเป็นที่มาของชื่อดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ

Read more ...

เมฆลึกลับในกลุ่มดาววัว

เมฆลึกลับในกลุ่มดาววัว

        เมฆจาง ๆ นี้ ค้นพบในปี พ.ศ. 2526 โดยดาวเทียม IRAS ที่สำรวจท้องฟ้าทั้งหมดในช่วงคลื่นอินฟราเรด ดำเนินการโดยสหรัฐอเมริกา เนเธอร์แลนด์ และสหราชอาณาจักร ค้นพบวัตถุใหม่จำนวนมากในช่วงคลื่นแสงที่ตามองไม่เห็น

Read more ...

Page 4 of 5