บทความภาพภ่ายดาราศาสตร์

บทความดาราศาสตร์

บทความดาราศาสตร์

ที่มาของเกณฑ์ “อิมกาน อัลรุกยะห์” (Imkan al-Rukyah/expected visibility)  ความเป็นไปได้ที่สามารถมองเห็นจันทร์เสี้ยวในมาเลเซีย

ที่มาของเกณฑ์ “อิมกาน อัลรุกยะห์” (Imkan al-Rukyah/expected visibility)  ความเป็นไปได้ที่สามารถมองเห็นจันทร์เสี้ยวในมาเลเซีย

มาเลเซียเป็นหนึ่งในประเทศมุสลิมที่นำการคำนวณมาใช้กําหนดวันแรกของเดือนตามปฏิทินอิสลามร่วมกับ “รุกยะห์” (Rukyah) หรือ การมองเห็นด้วยตาเปล่า โดยใช้หลักการคำนวณตามเกณฑ์ “อิมกาน อัลรุกยะห์” (Imkan al-Rukyah/expected visibility) คือ ความเป็นไปได้ที่สามารถมองเห็นจันทร์เสี้ยว  จันทร์เสี้ยวจะถูกรับรองว่าเห็น เมื่อเป็นตามเงื่อนไขข้อใดข้อหนึ่ง ต่อไปนี้

Read more ...

จันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) เพื่อกำหนดเดือนซุลฮิจญะฮ์ (Zul Hijah) ฮ.ศ. 1442

จันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) เพื่อกำหนดเดือนซุลฮิจญะฮ์ (Zul Hijah) ฮ.ศ. 1442

เนื่องจากวันเสาร์ที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2564 ตรงกับวันที่ 1 ซุลกอดะห์ (Zul Qadah  เดือนที่ 11 ในปฏิทินอิสลาม) ฮ.ศ. 1442 ดังนั้นวันที่ชาวไทยมุสลิมจะต้องออกมาสังเกตดวงจันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) ในครั้งต่อไป คือ ช่วงเย็นเวลาหลังดวงอาทิตย์ตกลับขอบฟ้าของวันที่ 29 เดือนซุลกอดะห์ ซึ่งปีนี้จะตรงกับวันเสาร์ที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 เพื่อที่จะกำหนดวันเวลาเริ่มต้นเดือนใหม่คือเดือนซุลฮิจญะฮ์ (Zul Hijah เดือนที่ 12 ในปฏิทินอิสลาม) พร้อมกับกำหนดวันสำคัญประจำเดือนซุลฮิจญะฮ์ คือกำหนดวันอิดฎิ้ลอัฎฮา (วันฮารีรายอฮัจญี) ซึ่งจะตรงกับวันที่ 10 เดือนซุลฮิจญะฮ์ เป็นวันเฉลิมฉลองใหญ่ของชาวมุสลิม ดังนั้นการกำหนดวันอิดฎิ้ลอัฎฮา (วันฮารีรายอฮัจญี) จะขึ้นอยู่กับผลของการสังเกตดวงจันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) ในวันเสาร์ที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 ซึ่งหากผลการสังเกตดวงจันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) ในวันเวลาดังกล่าวมีผู้คนที่สามารถเห็นดวงจันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) ชาวไทยมุสลิมก็จะกำหนดให้วันอาทิตย์ที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 เป็นวันที่ 1 ของเดือนซุลฮิจญะฮ์ (Zul Hijah เดือนที่ 12 ในปฏิทินอิสลาม) และจะกำหนดวันอิดฎิ้ลอัฎฮา (วันฮารีรายอฮัจญี) หรือวันที่ 10 เดือนซุลฮิจญะฮ์ ประจำปี ฮ.ศ. 1442 จะตรงกับวันอังคารที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2564

Read more ...

จันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) เพื่อกำหนดเดือนซุลกอดะห์ (Zul Qadah)  ฮ.ศ.1442

จันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) เพื่อกำหนดเดือนซุลกอดะห์ (Zul Qadah)  ฮ.ศ.1442

สำนักจุฬาราชมนตรีประกาศให้วันพฤหัสบดีที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2564 ตรงกับวันที่ 1  เดือนเชาวัล (Shawwal เดือนที่ 10 ในปฏิทินอิสลาม) ฮ.ศ.1442 หรือวันอีฏิลฟิตริ ประจำปีฮิจเราะห์ศักราช 1442 ดังนั้นวันที่ชาวไทยมุสลิมจะต้องออกมาสังเกตดวงจันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) ในครั้งต่อไปคือ ช่วงเย็นหลังดวงอาทิตย์ตกลับขอบฟ้าในวันที่ 29 เดือนเชาวัล ซึ่งปีนี้จะตรงกับวันพฤหัสบดีที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2564 เพื่อกำหนดวันขึ้นเดือนใหม่ หรือวันที่ 1 เดือนซุลกอดะห์ (Zul Qadah  เดือนที่ 11 ในปฏิทินอิสลาม) ประจำปีฮิจเราะห์ศักราช 1442

Read more ...

จันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) เพื่อกำหนดเดือนเชาวัล (Shawwal) ฮ.ศ.1442

จันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) เพื่อกำหนดเดือนเชาวัล (Shawwal) ฮ.ศ.1442

สำนักจุฬาราชมนตรีประกาศให้วันอังคารที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2564 ตรงกับวันที่ 1 เดือนรอมฎอน (Ramadan เดือนที่ 9 ในปฏิทินอิสลาม) ฮ.ศ.1442 หรือวันเริ่มต้นของการถือศีลอด เดือนรอมฎอน ดังนั้น วันที่ชาวไทยมุสลิมจะต้องออกมาสังเกตดวงจันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) ในครั้งต่อไปคือ ช่วงเย็นหลังดวงอาทิตย์ตกลับขอบฟ้าในวันที่ 29 เดือนรอมฎอน  ซึ่งปีนี้จะตรงกับวันอังคารที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2564 เพื่อกำหนดวันขึ้นเดือนใหม่ หรือวันที่ 1 เดือนเชาวัล (Shawwal เดือนที่ 10 ในปฏิทินอิสลาม) หรือวันอิ้ฏดิลฟิตตรี ประจำปีฮิจเราะห์ศักราช 1442 (วันเฉลิมฉลองของชาวมุสลิมหลังจากถือศีลอดมาตลอดทั้งเดือนรอมฎอน)

Read more ...

เกณฑ์การมองเห็นจันทร์เสี้ยว Criteria for Lunar Crescent Visibility

เกณฑ์การมองเห็นจันทร์เสี้ยว Criteria for Lunar Crescent Visibility

เกณฑ์การมองเห็นจันทร์เสี้ยว คือ เกณฑ์ที่ใช้พิจารณาความเป็นไปได้ที่จะสามารถมองเห็นดวงจันทร์ ปัจจุบันมีเกณฑ์ที่แตกต่างกันมากกว่า 12 เกณฑ์ โดยพิจารณาจากข้อมูลการสังเกตการณ์เป็นหลัก มีตัวแปรเกณฑ์การมองเห็น (Visibility criteria variables) ดังต่อไปนี้

Read more ...

จันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) เพื่อกำหนดเดือนชะบาน (Shaban) ฮ.ศ.1442

จันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) เพื่อกำหนดเดือนชะบาน (Shaban) ฮ.ศ.1442

พื้นที่สีส้มเป็นพื้นที่ที่ไม่สามารถเห็นดวงจันทร์ พื้นที่สีเหลืองเป็นพื้นที่ที่สามารถเห็นดวงจันทร์ผ่านกล้องโทรทรรศน์ และพื้นที่สีเขียวเป็นพื้นที่ที่สามารถเห็นดวงจันทร์ด้วยตาเปล่า

Read more ...

กลุ่มดาวฤดูใบไม้ผลิ (The Spring Constellations)

กลุ่มดาวฤดูใบไม้ผลิ (The Spring Constellations)

กลุ่มดาวที่สามารถสังเกตได้ในฤดูใบไม้ผลิของทางเขตอบอุ่นในซีกโลกเหนือ (เดือนมีนาคม - พฤษภาคม ตรงกับช่วงฤดูร้อนในไทย) มีหลายกลุ่มดาวที่น่าสนใจ เริ่มจาก กลุ่มดาวหมีใหญ่ (Ursa Major) หรือหากมองเป็นดาวเรียงเด่น จะเห็นเป็นรูปกระบวยตักน้ำ (Big Dipper) หากนำดาวฤกษ์บริเวณปลายกระบวยทั้งสองดวงมาต่อกันเพื่อลากเส้นสมมติ โดยเริ่มจาก ดาวเมอแรก (Merak) ลากผ่าน ดาวดูเบ (Dubhe) ก็จะชี้นำทางไปยังดาวเหนือได้

Read more ...

จันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) เพื่อกำหนดเดือนรอญับ (Rajab) ฮ.ศ.1442

จันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) เพื่อกำหนดเดือนรอญับ (Rajab) ฮ.ศ.1442

สำนักจุฬาราชมนตรีประกาศให้วันศุกร์ที่ 15 มกราคม พ.ศ.2564 ตรงกับวันที่ 1 เดือนญามาดิล อาเคร (Jamadil Akir เดือนที่ 6 ในปฏิทินอิสลาม) ฮ.ศ.1442 ดังนั้น วันที่ชาวไทยมุสลิมจะต้องออกมาสังเกตดวงจันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) ในครั้งต่อไปคือ ช่วงตอนเย็นหลังดวงอาทิตย์ตกลับขอบฟ้าในวันที่ 29 เดือนญามาดิล อาเคร  ซึ่งปีนี้จะตรงกับวันศุกร์ที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2564 เพื่อที่จะกำหนดวันขึ้นเดือนใหม่ หรือวันที่ 1 เดือนรอญับ (Rajab เดือนที่ 7 ในปฏิทินอิสลาม) ประจำปีฮีจเราะห์ศักราช 1442

Read more ...

จันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) เพื่อกำหนดเดือนรอบีอุล เอาวัล (Rabiul Awal) ฮ.ศ.1442

จันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) เพื่อกำหนดเดือนรอบีอุล เอาวัล (Rabiul Awal) ฮ.ศ.1442

เนื่องจากวันอาทิตย์ที่ 20 กันยายน พ.ศ.2563 ตรงกับวันที่ 1 เดือนซอฟาร (SAfar เดือนที่ 2 ในปฏิทินอิสลาม) ฮ.ศ.1442 ดังนั้น วันที่ชาวไทยมุสลิมจะต้องออกมาสังเกตดวงจันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) ในครั้งต่อไปคือ ช่วงตอนเย็นหลังดวงอาทิตย์ตกลับขอบฟ้าในวันที่ 29 เดือนซอฟาร ซึ่งปีนี้จะตรงกับวันอาทิตย์ที่ 18 ตุลาคม พ.ศ.2563 เพื่อที่จะกำหนดวันขึ้นเดือนใหม่ หรือวันที่ 1 เดือนรอบีอุล เอาวัล (Rabiul Awal เดือนที่ 3 ในปฏิทินอิสลาม) ประจำปีฮีจเราะห์ศักราช 1442 เดือนรอบีอุลเอาวัล (Rabiul Awal) ถือได้ว่าเป็นเดือนสำคัญของชาวมุสลิมเนื่องจากเป็นเดือนเกิดของท่านศาสดามูฮัมหมัด (ซล.) และจะมีประเพณีปฏิบัติกิจกรรมงานเมาลิด หรือกิจกรรมเฉลิมฉลองพระเกียรติคุณของศาสดามูฮัมหมัด (ซล.)

Read more ...

เครื่องฉายดาวไซส์ : เครื่องฉายดาวรุ่นบุกเบิกที่ Made in Germany

เครื่องฉายดาวไซส์ : เครื่องฉายดาวรุ่นบุกเบิกที่ Made in Germany

เครื่องฉายดาว (ภาษาอังกฤษ: Planetarium projector ภาษาเยอรมัน: Planetariumsprojektor) เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เพื่อฉายภาพประกอบการแสดงท้องฟ้าจำลองขึ้นไปบนผนังโดม ตั้งแต่ดวงดาว ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ ดาวเคราะห์ วัตถุท้องฟ้าอื่น ๆ ทางช้างเผือก กลุ่มดาว เส้นสำคัญเกี่ยวกับทรงกลมท้องฟ้าและระบบพิกัดท้องฟ้า สไลด์บรรยาย ไปจนถึงแสงเลเซอร์ประกอบการแสดง

Read more ...

หอดูดาวโบราณปักกิ่ง : หอดูดาวหลวงของจีนในสมัยราชวงศ์หมิงและชิง

หอดูดาวโบราณปักกิ่ง : หอดูดาวหลวงของจีนในสมัยราชวงศ์หมิงและชิง

หอดูดาวโบราณปักกิ่ง (“เป่ย์จิงกู่กวานเซี่ยงไถ” อักษรจีนตัวเต็ม: 北京古觀象臺 อักษรจีนตัวย่อ: 北京古观象台) เป็นอาคารหอดูดาวสำหรับการสังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ ก่อนที่จะเริ่มประยุกต์ใช้กล้องโทรทรรศน์ในการสังเกตการณ์ตามแบบดาราศาสตร์สมัยใหม่ในจีน ตั้งอยู่ในกรุงปักกิ่ง เมืองหลวงของประเทศจีน

Read more ...

หอดูดาวแห่งชาติชิลี : หอดูดาวภายใต้มหาวิทยาลัยเก่าแก่ และหน่วยงานที่เคยผลักดันให้นานาชาติสร้างหอดูดาวขนาดใหญ่ในประเทศ

หอดูดาวแห่งชาติชิลี : หอดูดาวภายใต้มหาวิทยาลัยเก่าแก่ และหน่วยงานที่เคยผลักดันให้นานาชาติสร้างหอดูดาวขนาดใหญ่ในประเทศ

เนื่องในโอกาสวันที่ 18 กันยายนของทุกปีเป็นวันชาติของชิลี ซึ่งเป็นประเทศที่ตั้งหอดูดาวขนาดใหญ่หลายแห่งของนานาชาติตั้งอยู่  NARIT จึงชวนมาดูเรื่องราวของของหนึ่งในหอดูดาวสำคัญของทางประเทศชิลี และเคยเป็นตัวกระตุ้นให้นานาชาติตั้งหอดูดาวในประเทศครับ

Read more ...

ดาราศาสตร์ในอารยธรรมมายาแห่งภูมิภาคอเมริกากลาง โทมาโนโวส (Tomanowos) อุกกาบาตผู้รอดพ้นจากมหาอุทกภัย และความเขลาของมนุษย์ จันทร์เสี้ยวแรก (ฮีลาล) เพื่อกำหนดเดือนซุลฮิจญะฮ์ (Zul Hijah) ฮ.ศ. 1441 การค้นหาแหล่งกำเนิดคลื่นความโน้มถ่วงโดยกล้องโทรทรรศน์แห่งชาติ ความแตกต่างและความน่าสนใจระหว่างดาวตก (Meteor) ลูกไฟ (Fireball)   และ ดาวตกชนิดระเบิด (Bolide) ที่ควรรู้ กระบวนการทดสอบความเป็นอุกกาบาตของวัตถุต้องสงสัย “ซิจ” Zij  ตารางดาราศาสตร์อิสลามยุคกลาง แอปพลิเคชัน Star Chart Animals in space สัตว์อะไรบ้างที่เคยไปอวกาศ ทำไมจึงไม่เห็นวัตถุท้องฟ้าผ่านกล้องโทรทรรศน์มีสีสันสวยงามดั่งเช่นภาพถ่าย
Page 2 of 5